มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ร่วมสืบสานวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน
-
วันที่เริ่มต้น 30/10/2566 เวลา 6:00 วันที่สิ้นสุด 30/10/2566 เวลา 12:00
สถานที่จัด ณ บริเวณถนนรอบอำเภอหลังสวน 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ศุจินธร รัตนิพนธ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6407104301   นางสาวกมลวรรณ   ภักดี : การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 30ชั่วโมง
6407104302   นางสาวนันท์นภัส   เต็งทอง : การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 30ชั่วโมง
6407107002   นางสาวปราณี   โพธิ์อาจ : เทคโนโลยีการผลิตพืช 30ชั่วโมง
6407108312   นางสาววันวิสาข์   สุดเสนาะ : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507104001   นางสาวนัสรีน   น้ำใส : การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 30ชั่วโมง
6507104003   นายสิทธิพล   สีสดสุข : การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 30ชั่วโมง
6507104304   นางสาวจินดาพร   สละชั่ว : การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 30ชั่วโมง
6507107010   นางสาวสุภาพร   หาการ : เทคโนโลยีการผลิตพืช 30ชั่วโมง
6507108302   นายเฉลิมพงษ์   รุ่มจิตร : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507108304   นายณัฐวุฒิ   หมื่นลาง : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507108309   นายนันทกานต์   ปัจฉิมมา : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507108313   นางสาวประกายทิพย์   เสียงเลิศ : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507108318   นางสาวอรวรรณ   สัสดีเหมาะ : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6507108319   นางสาวกนกพร   ลั่นคีรี : การเมืองและการปกครองท้องถิ่น 30ชั่วโมง
6607101301   นางสาวซานะ   สำลี : นวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 30ชั่วโมง
6607101302   นายณัฐนันท์   แสงสีนิล : นวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 30ชั่วโมง
6607101305   นางสาวพรนภา   ขำจิตร : นวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 30ชั่วโมง
ประเพณีและวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ดีงาม ซึ่งบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของชุมชนและท้องถิ่นนั้นๆ ที่สังคมได้สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ ได้พัฒนาและสร้างสรรค์ขึ้น และใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินวิถีชีวิต ป้องกันและแก้ไขปัญหา ร่วมทั้งใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นศักยภาพและทุนที่สำคัญยิ่งของชุมชนท้องถิ่นและสังคมไทย ที่ได้แสดงออกในรูปแบบและวิธีการต่างๆ ทั้งในรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา เครื่องมือเครื่องใช้ในการทำมาหากิน ความเชื่อและอื่นๆอีกมาก ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นนั้น มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้นๆ
งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ ขึ้นโขนชิงธง อำเภอหลังสวน เป็นประเพณีเก่าแก่ของอำเภอหลังสวน ซึ่งมีมานานกว่า 100 ปี โดยมีความเชื่อว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลงมาสู่เมืองสังกัสสะในชมพูทวีป พุทธศาสนิกชนจึงเดินทางไปรับเสด็จจำนวนมาก ซึ่งการเดินทางที่สะดวกในสมัยนั้นคือทางน้ำ จึงได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์กัน ต่อมาจึงเกิดเป็นประเพณีแห่พระแข่งเรือขึ้น เพื่อสร้างความสามัคคีของคนในชุมชน เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีการแข่งเรือยาวของจังหวัด และเพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบทอดประเพณีแก่เด็กและเยาวชนรุ่นหลัง ประชาชนได้เกิดความซาบซึ้งและตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมไทย ตลอดจนการอนุรักษ์ฟื้นฟูประเพณีอันดีงามของไทยไว้ให้อยู่คู่บ้านเมือง และยังเป็นการปลูกฝังให้รู้รักถิ่นฐานบ้านเกิด ซึ่งเป็นประเพณีที่ควรทำสืบต่อไป ซึ่งปัจจุบันขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมนับเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่ง ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ได้เล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญของการร่วมสืบสานมรดกวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน จึงจัดโครงการ “อนุรักษ์สืบสานมรดกวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน” เพื่อส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น โดยบูรณาการกิจกรรมกับการเรียนการสอน วิชา11303003 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม11303001 หลักการท่องเที่ยวและบริการ 11303023 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สร้างองค์ความรู้นอกห้องเรียน สามารถทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนในท้องถิ่นได้ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการสืบสานมรดกวัฒนธรรมของชุมชนลุ่มน้ำ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ประพฤติปฎิบัติตามวัฒนธรรมไทย รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร สิ่งแวดล้อม อันจะเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทยไว้สืบไป
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ระดับชาติ
ปริมาณงานทั้งหมด 20  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 100 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   104 คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวในวันที่ 30 ตุลาคม 2566 โดยมีการร่วมขบวนใน วัดปากน้ำละแม ณ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล