นักศึกษาอาสาบำเพ็ญประโยชน์ (ช่วยงานโครงการสร้างจิตสำนึกก่อนจบ : ชำระหนี้จากพี่เพื่อน้อง)

วันที่เริ่มต้น 04/03/2560 เวลา 0:00 วันที่สิ้นสุด 04/03/2560 เวลา 0:00
สถานที่จัด ศูนย์กีฬากาญจนาภิเษก รัชกาลที่ 9 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก สำนักงานมหาวิทยาลัย สาขา/กอง กองแนะแนว และศิษย์เก่าสัมพันธ์ หน่วยงานภายใน  งานกองทุนเพื่อการศึกษา
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
ไม่มีข้อมูล
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ได้จัดตั้งขึ้นโดยหลักการเพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ซึ่งมาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ได้กู้ยืมเงินกองทุนฯ เพื่อนำไปศึกษาต่อตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงปริญญาตรีภายในประเทศ ทั้งการศึกษาในระบบและนอกระบบ ซึ่งต้องชำระหนี้พร้อมดอกเบี้ยในอัตราต่ำเมื่อจบการศึกษาแล้ว ปัจจุบัน การชำระหนี้คืนของนักศึกษาที่จบการศึกษาแล้ว ยังอยู่ในอัตราที่ต่ำ โดยมีแนวโน้มผู้ที่ไม่มาติดต่อชำระหนี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งส่งผลให้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา มีเงินหมุนเวียนมาให้นักศึกษาในปัจจุบันกู้ได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ปัญหาการชำระหนี้ในอัตราที่ต่ำนั้น สาเหตุหนึ่งอาจจะเกิดจากนักศึกษายังไม่มีความเข้าใจในระเบียบหรือขั้นตอนเกี่ยวกับการชำระหนี้ หรืออาจจะยังไม่เห็นความสำคัญของการชำระหนี้คืน วิธีการที่จะสามารถแก้ไขปัญหานี้ได้คือ การอธิบายระเบียบหรือขั้นตอนเกี่ยวกับการชำระหนี้ รวมถึงการชี้ให้นักศึกษาได้เห็นความสำคัญของการชำระหนี้คืน ดังนั้น เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจในระเบียบหรือขั้นตอนเกี่ยวกับการชำระหนัี้ ให้ความสำคัญของการชำระหนี้คืน อันก่อให้เกิดความสำนึกที่จะชำระหนี้คืน งานกองทุนเพื่อการศึกษา กองแนะแนว และศิษย์เก่าสัมพันธ์ จึงได้จัดโครงการสร้างจิตสำนึกก่อนจบ : ชำระหนี้จากพี่เพื่อน้อง ขึ้น
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 4  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 1336 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล