เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บุคลากร
พัฒนาบุคลากรและกิจกรรม
โครงการอบรมความรู้งานวิจัยเชิงคุณภาพ
Qualitative Research
วันที่เริ่มต้น
11/11/2558
เวลา
0:00
วันที่สิ้นสุด
11/11/2558
เวลา
0:00
ทั้งวัน
สถานที่จัด
ห้อง 105 ชั้น 1 อาคารประเสริฐ ณ นคร
ภายในสถาบัน
ในประเทศ
ต่างประเทศ
หน่วยงานที่จัด
ผู้รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก
คณะศิลปศาสตร์
สาขา/กอง
หน่วยงานภายใน
ชื่อหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล
ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
5606103431
นางสาว
สุภาภรณ์
กมลชอบวิริยะ
:
บัญชี
6ชั่วโมง
5606103433
นางสาว
โสภิดา
มั่นอ่วม
:
บัญชี
6ชั่วโมง
5606103435
นางสาว
อนุสรา
สวยฉลาด
:
บัญชี
6ชั่วโมง
ในปัจจุบันการวิจัยมีความสําคัญอยาางมาก สําหรับหรับความเจริญก้าวหน้าในทุกๆศาสตร์เพราะสามารถนําเอาการวิจัยมาใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกันการพัฒนาความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว เช่นนั้น การวิจัย ก็ คือ การค้นหาข้อเท็จเพื่อนำมาตอบปัญหาที่ตั้งไว้ ประสบการณ์ได้บอกแก่มนุษย์ว่า การค้นหาข้อเท็จอย่างเป็นระบบระเบียบ เช่นการสังเกตเป็นระยะอย่างสม่าเสมอ การตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล การรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบง่ายต่อความเข้าใจ กระบวนการวิจัยก็คือ การเชื่อมโยงระบบความคิดกับระบบข้อเท็จจริงเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเทคนิควิธีการต่างๆของศาสตร์เข้าช่วย จะช่วยให้คำตอบที่ได้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น (สุภางค์ จันทวานิช 2543) ซึ่ง ปัจจุบันนี้บุคคลในวงการต่าง ๆ ได้ให้ความสนใจการวิจัยมากขึ้น ทั้งนี้เพราะได้เล็งเห็นประโยชน์ของการวิจัยที่มีต่อมวลมนุษย์นั่นเอง แต่ประโยชน์ของการวิจัยจะมีมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความเชื่อถือและถูกต้องมากน้อยเพียงใด ถ้าข้อมูลเป็นเท็จผลการวิจัยที่ได้แทนที่จะเป็นประโยชน์จะกลับกลายเป็นโทษต่อผู้นำผลการวิจัยนั้นไปใช้ ดังนั้นการวิจัยจะมีประโยชน์อย่างแท้จริงหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของนักวิจัย ตลอดจนความร่วมมือของผู้ให้ข้อมูลด้วย โดยทั่วไปแล้วอาจกล่าวได้ว่า การวิจัยมีประโยชน์ เช่น การวิจัยช่วยให้เกิดวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ , การวิจัยสามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและยุติธรรม , การวิจัยจะช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น และสามารถใช้ทำนายปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง (นิภา ศรีไพโรจน์ 2558)
ดังนั้น การจัดโครงการอบรมงานวิจัยเชิงคุณภาพจะช่วยส่งเสริมความรู้ทางวิชาการด้านการวิจัยให้แก่นักศึกษารวมทั้งพัฒนาองค์ความรู้ในการทำวิทยานิพนธ์(Thesis) ในแต่ละหัวข้อ ณ สถานภาพในปัจจุบันที่นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชา สม 697 วิทยานิพนธ์ 2 และคณาจารย์พร้อมทั้งบุคลากรของคณะฯ เพื่อนำไปพัฒนาสังคมต่อไป
(ผู้บันทึกข้อมูล)
ข้อมูลวันที่ :
22/03/2559 10:42
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่
1
รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน
ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ไม่ระบุ
ระดับ
ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด
6
ชั่วโมง
วัน
เป้าหมายผู้เข้าร่วม
50
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม
ไม่ระบุ
คน
ตอนที่
2
รายรับ-รายจ่าย
รายรับ
7000
บาท
มูลค่ารายรับ
ไม่ระบุ
บาท
ค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย
ไม่ระบุ
บาท
ตอนที่
3
ผลการดำเนินงาน
-
ตอนที่
4
สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัย
สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
สมรรถนะของผู้บริหาร
ตอนที่
5
เอกสารอ้างอิง
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
6
ภายใต้โครงการ
โครงการอบรมความรู้งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ตอนที่
7
ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่
8
การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล