รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : วิจัย
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 4th International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (4th ICSTI-MJU) Hybrid conference (Online & Onsite)
การเข้าร่วมประชมวิชาการระดับนานาชาติ The 4th International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (4th ICSTI-MJU) Hybrid conference (Online & Onsite) ในวันที่ 29 มีนาคม 2567 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ทางด้านวิชาการ ในหัวข้อที่สนใจ ได้แก่ คณิตศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์และนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาปรับใช้ในด้านการวิจัย การเรียนการสอน ในรายวิชาในหลักสูตรฯ ต่อไป
คำสำคัญ : Conference  Statistics  ประชุมวิชาการ  ระดับนานาชาติ  วิจัย  วิชาการ  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 425  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 1/4/2567 9:38:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 0:14:52
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024) » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024)
ร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024) นำเสนอผลงานวิจัย ในรูปแบบโปสเตอร์ เรื่อง " Evaluation of the aromaticity of two star[3]calicene isomers" เมื่อวันที่ 26-27 มกราคม 2567 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ : PACCON 2024  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 402  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 12/2/2567 11:37:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 10:51:32
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การเขียนบทความลงวารสารวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
บทความวิชาการมีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นรูปแบบอันเป็นสากลในการเผยแพร่ความรู้ ความคิด และพัฒนาการที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในแง่มุมต่าง ๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้จัดทำ “วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม” ขึ้นเพื่อส่งเสริมการผลิตและเผยแพร่บทความ วิชาการโดยมีกำหนดการตีพิมพ์เป็นราย 4 เดือน หรือ กำหนดออกปีละ 3 ฉบับ ในเดือนมกราคม พฤษภาคม และเดือนกันยายน ของทุกปี • ประเภทผลงานที่รับตีพิมพ์ - บทความปริทัศน์ (Review Article) ทั้งในรูปแบบของการเรียบเรียงผลงานวิจัยที่ผ่านมา และการเรียบเรียงสรุปความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สารสนเทศในด้านใดด้านหนึ่ง หรือบทความแนะนำองค์ความรู้ในสาขาการวิจัยที่น่าสนใจ (Tutorial Article) - บทความวิชาการ (Academic Article) ที่ให้ความรู้อันเป็นประโยชน์แก่นักวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือประชาชนทั่วไป - บทความวิจัย (Research Article) ด้านนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ • ขอบเขตของบทความวิชาการ - งานวิจัยและบทความทางวิชาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - งานวิจัยและบทความในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ - งานวิจัยและบทความด้านอื่น ๆ ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั่วประเทศ Ref: https://mitij.mju.ac.th/JOURNAL/1.Promote_MITIJ.pdf
คำสำคัญ : เทคโนโลยีสารสนเทศ  บทความวิจัย  วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม  วิทยาการคอมพิวเตอร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 226  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 28/9/2566 13:16:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 20:10:46
ฝึกอบรมการทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review)
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบหรือ Systematic Review คือกระบวนการวิจารณ์วรรณกรรมที่จัดทำโดยใช้ขั้นตอนและเครื่องมือที่มีระเบียบเพื่อสรุปผลลัพธ์จากการวิเคราะห์วรรณกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับหัวข้อหรือคำถามที่กำหนดไว้ วิธีการสังเคราะห์ดังกล่าวสำคัญในการประเมินข้อมูลที่มาจากหลายแหล่งและสร้างฐานความรู้ที่เป็นมาตรฐานในการตัดสินใจทางวิชาการ
คำสำคัญ : Chat GPT  การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ  การอ่านอย่างมีระบบ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 141  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 26/9/2566 3:20:07  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 22:17:58
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 4
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 4 จัดขึ้นเป็นประจำทุก ๆ ปี โดยในปีนี้จัดขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา นักวิชาการ ผู้ที่สนใจได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผลงานการวิจัยในแต่ละสาขาฯที่เกี่ยวข้องกับทางด้านวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ : ประชุมวิชาการ  ระดับชาติ  วิจัย  วิชาการ  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3482  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 24/5/2566 11:32:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 12:28:29
เผยแพร่ความรู้จากการเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการ » จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการในการพิจารณากำหนดตำแหน่งวิชาการ
ในการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการตามเกณฑ์ กพอ. พ.ศ. 2564 ผลงานทางวิชาการที่มีการใช้ข้อมูลจากการทำวิจัยในคนหรือสัตว์ ผู้ขอกำหนดตำแหน่งวิชาการจะต้องยื่นหลักฐานแสดงการอนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของสถาบันที่มีการดำเนินการ ผลงาน วิชาการที่ยื่นขอกำหนดตำแหน่งวิชาการจะต้องเป็นต้นฉบับที่ถูกต้อง ทำโดยผู้วิจัย/คณะผู้วิจัยเอง มีความคิดริเริ่มในการทำงาน การออกแบบ งานวิจัย ออกแบบงานทดลอง ผลงานวิจัยที่ใหม่ ได้ข้อค้นพบแปลกใหม่
คำสำคัญ : จรรยาบรรณ  จริยธรรม  วิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 261  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 28/3/2566 16:22:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 11/4/2567 22:04:30
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 18th International Symposium on Novel Aromatic Compounds (ISNA-18) » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ PACCON 2023
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “The Pure And Applied Chemistry International Conference 2023 (PACCON 2023)” และนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ 20-21 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
คำสำคัญ : PACCON 2023  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 5805  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 22/3/2566 16:54:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 6:44:45
สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ"การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7"
การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงคราม ครั้งที่ 7 เป็นการประชุมวิชาการที่เปิดโอกาสให้อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา ที่สนใจด้านการวิจัยได้แลกเปลี่ยนความรู้ด้านงานวิจัย ซึ่งแยกงานวิจัยที่มีการนำเสนอเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 65 ผลงาน และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 17 ผลงาน โดยจัดขึ้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ในรูปแบบออนไลน์
คำสำคัญ : จุดตรึง  ประชุมวิชาการพิบูลย์สงครามวิจัย  ปริภูมิเมตริกบี  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 629  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 25/9/2565 10:55:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 5:45:44
การอบรม สัมนา » เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน?
กิจกรรมการจัดการความรู้ครั้งที่ 2/2564 "เขียนโครงการอย่างไรให้ได้ทุน?" จัดขึ้นในวันที่ 3 พ.ค.2565 โดย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ : เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 954  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 19/5/2565 14:17:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 22:45:00
การอบรม สัมนา » จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ (กิจกรรมที่ 1) "จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์" จัดขึ้นในวันที่ 16 พ.ค.2565 โดย มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ : จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1270  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 19/5/2565 13:49:53  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 11/4/2567 0:30:46
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร » การประเมินผลกระทบจากการวิจัย
คำสำคัญ : ผลกระทบ งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1114  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นลินี คงสุบรรณ์  วันที่เขียน 12/9/2564 13:13:18  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2567 7:25:58
ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยสายสังคมศาสตร์ » จริยธรรมการวิจัยในคน
แนวทางจริยธรรมการวิจัยและการทดลองในคน หรือแนวทางหรือหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน โดยมีแนวทางที่เกี่ยวข้องเช่น คำประกาศกรุงเฮลซิงกิ หรือปฏิญญาเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki) กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทางที่องค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory Authorities, NRA) และสถาบันกำหนด โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการที่สถาบัน องค์กร หรือหน่วยงานแต่งตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่พิจารณาทบทวนด้านจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอโครงร่างการวิจัยในคน เพื่อคุ้มครองสิทธิ ศักดิ์ศรี ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในการวิจัย คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของสถาบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินการมาตรฐาน (SOPs) ของคณะกรรมการจริยธรรมฯ ที่ชัดเจนสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและแนวทางของประเทศตลอดจนแนวทางสากล
คำสำคัญ : การวิจัย  จริยธรรมการวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2796  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณภัทร เรืองนภากุล  วันที่เขียน 14/8/2564 23:27:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 5:17:58
ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยสายสังคมศาสตร์ » จริยธรรมการวิจัยในคน
แนวทางจริยธรรมการวิจัยและการทดลองในคน หรือแนวทางหรือหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน โดยมีแนวทางที่เกี่ยวข้องเช่น คำประกาศกรุงเฮลซิงกิ หรือปฏิญญาเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki) กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทางที่องค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory Authorities, NRA) และสถาบันกำหนด โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการที่สถาบัน องค์กร หรือหน่วยงานแต่งตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่พิจารณาทบทวนด้านจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอโครงร่างการวิจัยในคน เพื่อคุ้มครองสิทธิ ศักดิ์ศรี ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในการวิจัย คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของสถาบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินการมาตรฐาน (SOPs) ของคณะกรรมการจริยธรรมฯ ที่ชัดเจนสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและแนวทางของประเทศตลอดจนแนวทางสากล
คำสำคัญ : การวิจัย  จริยธรรมการวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2796  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณภัทร เรืองนภากุล  วันที่เขียน 14/8/2564 23:27:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 5:17:58
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เอกสารเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการอบรม “จริยธรรมการวิจัยในคน สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3”
โครงการอบรม จริยธรรมการวิจัยในคน สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เป็นขั้นตอน กระบวนการที่จะต้องดำเนินการภายใต้การทำวิจัยในคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสอบถาม สัมภาษณ์ เป็นต้น ดังนั้น การที่จะต้องมีการรับรองในด้านจริยธรรมการวิจัยในคนถือเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง ใยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัคร
คำสำคัญ : การวิจัยในคน  จริยธรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1525  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 5/8/2564 11:27:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 4:47:13
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร » การประเมินผลกระทบจากการวิจัย
คำสำคัญ : การประเมินผลกระทบจากการวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1686  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นลินี คงสุบรรณ์  วันที่เขียน 21/9/2563 22:27:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 6:25:49
การอบรม สัมนา » จริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์
ถ่ายทอดองค์ความรู้จากการอบรมจริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ครั้งที่ 2 ณ ห้องประชุมข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันที่ 29 ก.ค.2563
คำสำคัญ : การวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1589  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 21/9/2563 1:58:44  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 0:04:54
สรุปความรู้ เรื่อง การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน » การทำวิจัยและผลงานทางวิชาการสำหรับบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
R2R ย่อมาจาก Routine to Research แปลว่า พัฒนางานประจำสู่งานวิจัย หลักคิดเกี่ยวกับ R2R นั้นเชื่อว่ามีอยู่หลากหลาย แต่วัตถุประสงค์ของ R2R คือ การใช้ข้อมูลและประสบการณ์จากงาน การทำงานประจำธรรมดาๆ ทั่วๆ ไป ในการสร้างความรู้ คนที่ทำงานประจำเมื่อทำงานไปนานๆ จะเบื่อหน่าย และกลายเป็นเครื่องจักร ชีวิตไม่มีคุณค่า ที่ว่า “ทำงานเป็นเครื่องจักร” แปลว่า ไม่ต้องคิด ทำงานไปวันๆ หนึ่ง ฉะนั้น ยิ่งนานก็ยิ่งเบื่อ R2R เป็นการทำให้งานประจำกลายเป็นงานสร้างความรู้ หรือเป็นงานวิจัย ซึ่งจะทำให้การทำงานประจำกลายเป็นงานที่มีคุณค่า ยิ่งทำงาน นานก็ยิ่งมีปัญญา ยิ่งเกิดความรู้ และยิ่งมีประเด็นที่จะทำให้เกิดความ ภาคภูมิใจได้มากขึ้นเรื่อยๆ จึงยิ่งทำให้ได้รับความนับถือจากคนอื่นมากขึ้น
คำสำคัญ : บุคลากรสายสนับสนุน วิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2315  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พัชรี ยางยืน  วันที่เขียน 7/4/2563 15:24:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 2:23:21
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3211  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 18:20:04
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3211  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 18:20:04
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3211  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 18:20:04
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2562 (AMM 2019)
การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2562 “The 24th Annual Meeting in Mathematics” (AMM 2019) ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างวันที่ 15-17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ตามใบขออนุมัติเดินทางไปปฏิบัติงาน ที่ ศธ 0523.4.5/153 ลงวันที่ 23 เดือนเมษายน พ.ศ. 2562 และใบขออนุมัติขยายระยะเวลาการเดินทางเข้าร่วมประชุมวิชาการฯ ที่ ศธ 0523.4.5/182 ลงวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2562
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์  การนำเสนอผลงานวิจัยทางคณิตศาสตร์  การประยุกต์ทางคณิตศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2888  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 19/6/2562 16:02:04  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 4:12:16
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย
กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย และเทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา ณ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
คำสำคัญ : การวิจัยทางด้านพีชคณิต  การวิจัยทางทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory)  เทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2989  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:39:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2567 10:01:57
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย
กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย และเทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา ณ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
คำสำคัญ : การวิจัยทางด้านพีชคณิต  การวิจัยทางทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory)  เทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2989  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:39:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2567 10:01:57
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ NACED ครั้งที่ 1
การทำวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศในปัจจุบัน ได้ยึดแนวทางการทำวิจัยตามยุทธศาสตร์การวิจัยและนวตกรรม 20 ปี (พศ.2561 – 2580) ซึ่งมีเป้าหมายว่า ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวตกรรม 20 ปี (พศ.2561 – 2580) ซึ่งมีเป้าหมายของการพัฒนาประเทศในภาพรวม ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
คำสำคัญ : ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2345  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 2/4/2562 23:44:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 21:05:52
บริการฐานข้อมูลเฉพาะทาง » การพัฒนาคุณภาพฐานข้อมูลงานวิจัยและวิเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยสาขา พืชศาสตร์ด้วยระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบศัพท์สัมพันธ์ : กรณีฐานข้อมูล งานวิจัยกล้วยไม้และลำไยของประเทศ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาลักษณะดรรชนีหัวเรื่องและศัพท์สัมพันธ์ ด้าน พืชศาสตร์รายชนิด และพัฒนาบัญชีคำหัวเรื่องแบบแผน (pattern heading) ของพืช กรณีกล้วยไม้ และลำไย (2) เพื่อพัฒนาคุณภาพฐานข้อมูลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์กล้วยไม้ และลำไย ในด้านดรรชนีหัวเรื่อง (3) เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและประยุกต์ใช้ระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบ ศัพท์สัมพันธ์ในโปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ (4) เพื่อศึกษาองค์ความรู้หรือสถานภาพงานวิจัยด้านกล้วยไม้และลำไย ในแง่การผลิต การกระจายสารสนเทศ และขอบเขตเนื้อหาที่มีการศึกษากันมากซึ่งพิจารณาจากหัวเรื่องในผลงานนั้น ดำเนินการรวบรวมข้อมูลประชากรคือ (1) รายการคำดรรชนีหัวเรื่อง จากคู่มือและฐานข้อมูลหัวเรื่องฉบับมาตรฐาน และจากฐานข้อมูลห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (2) คำดรรชนีหัวเรื่องของเอกสารงานวิจัย จากฐานข้อมูลบรรณานุกรมงานวิจัยกล้วยไม้และลำไยที่รวบรวมจากแหล่งสารสนเทศสำคัญๆ ของประเทศ เครื่องมือที่ใช้คือโปรแกรม CDS/ISIS, Elib สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การพัฒนาบัญชีคำดรรชนีหัวเรื่องย่อยของพืชรายชนิด (กล้วยไม้ ลำไย) ตามแนวหัวเรื่องแบบแผน (pattern heading) ได้ชุดคำประมาณ 300 คำ และการศึกษาลักษณะดรรชนีที่สร้างขึ้น พบว่าหัวเรื่องย่อยภาษาอังกฤษที่กำหนดเป็นภาษาไทยแล้วมีจำนวนน้อย บางกรณีมีรูปแบบทางภาษาของคำต่างกัน หัวเรื่องย่อยบางคำอาจไม่เหมาะสมกับพืชบางชนิด หัวเรื่องหลักที่มีหัวเรื่องย่อยประกอบมีข้อมูลโยงไปศัพท์สัมพันธ์อื่นน้อยกว่าหัวเรื่องหลักทั่วไป หัวเรื่องสำหรับพันธุ์พืชของกล้วยไม้มีปัญหากำหนดคำ 2. การใช้ระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบศัพท์สัมพันธ์ในโปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ Elib ประยุกต์ใช้งานได้ ฐานข้อมูลงานวิจัยกล้วยไม้ 962 รายชื่อ และฐานข้อมูลงานวิจัยลำไย 844 รายชื่อ 3. การประเมินคุณภาพดรรชนีหัวเรื่องในฐานข้อมูลที่ทำดรรชนีใหม่ (re-cataloging) พบว่า (1) ฐานข้อมูลกล้วยไม้ : จำนวนหัวเรื่องเฉลี่ย 5.26 คำ/ชื่อเรื่อง เพิ่มขึ้น 2.39 คำ/ชื่อเรื่อง จำนวนคำดรรชนีหัวเรื่องในระบบที่ค้นคืนได้ (index postings) เพิ่มขึ้นร้อยละ 83.20 และจำนวนหัวเรื่องกล้วยไม้ที่มีหัวเรื่องย่อยเพื่อแสดงความชี้เฉพาะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.60 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ว่าจะมีจำนวนคำเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 30.00 (2) ฐานข้อมูลลำไย : จำนวนหัวเรื่องเฉลี่ย 5.91 คำ/ชื่อเรื่อง เพิ่มขึ้น 2.65 คำ/ชื่อเรื่อง จำนวนคำดรรชนีหัวเรื่องในระบบที่ค้นคืนได้ (index postings) เพิ่มขึ้นร้อยละ 81.39 และจำนวนหัวเรื่องลำไยที่มีหัวเรื่องย่อยเพื่อแสดงความชี้เฉพาะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.32 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ว่าจะมีจำนวนคำเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 30.00 4. องค์ความรู้หรือสถานภาพงานวิจัยด้านกล้วยไม้และลำไย ในแง่การผลิต การกระจาย สารสนเทศ และขอบเขตเนื้อหาที่มีการศึกษากันมากซึ่งพิจารณาจากหัวเรื่อง พบว่า (1) หน่วยงานที่ผลิตงานวิจัยด้านกล้วยไม้ 10 อันดับแรกมีผลงานรวมกันร้อยละ 76.03 ของผลงานทั้งหมด ส่วนหน่วยงานที่ผลิตงานวิจัยด้านลำไย 10 อันดับแรกมีผลงานรวมกันร้อยละ 85.24 ของผลงานทั้งหมด (2) ผลงานวิจัยที่จัดพิมพ์ช่วงปี 2550-2556 และ 2540-2549 มีสัดส่วนใกล้เคียงกัน ประมาณร้อยละ 40 ของผลงานทั้งหมด รวม 2 ช่วงรวมกันประมาณร้อยละ 80 ของผลงานทั้งหมด (3) การเผยแพร่สารสนเทศงานวิจัยกล้วยไม้และลำไยในแหล่งสารสนเทศหรือห้องสมุดต่างๆ พบว่าหน่วยงานเฉพาะ เช่น ศูนย์วิทยาการกล้วยไม้ ศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไย และที่เป็นแหล่งกลางของการรวบรวมข้อมูล เช่น ฐานข้อมูล Thailand Digital Collection (TDC) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จะมีจำนวนงานวิจัย แห่งละประมาณร้อยละ 35-60 ของผลงานทั้งหมด (4) ขอบเขตเนื้อหาของงานวิจัยกล้วยไม้และลำไย ที่มีการศึกษากันมาก โดยพิจารณาจากหัวเรื่องหลักและหัวเรื่องย่อยที่จำแนกเนื้อหา พบว่ามีหัวข้อศึกษามากประมาณ 30 หัวข้อ จำนวนคำดรรชนีตามเนื้อหา 30 หัวข้อนี้มีรวมกันประมาณ 1 ใน 3 ของเนื้อหาทั้งหมด คำสำคัญ : ดรรชนี ; หัวเรื่อง ; ศัพท์สัมพันธ์ ; รายงานการวิจัย ; วิทยานิพนธ์ ; กล้วยไม้ ; ลำไย
คำสำคัญ : กล้วยไม้  ดรรชนี  รายงานการวิจัย  ลำไย  วิทยานิพนธ์  ศัพท์สัมพันธ์  หัวเรื่อง  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานห้องสมุด
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3063  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุธรรม อุมาแสงทองกุล  วันที่เขียน 26/9/2561 9:30:02  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 23:34:00
รายงานความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ » การประชุมวิชาการ เรื่อง “งานวิจัยกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0”
“งานวิจัยกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0” นักวิจัยจะต้องไม่ยึดติดกับงานวิจัยของสาขาตนเองมากไป ต้องประยุกต์ใช้เข้าร่วมกับสาขาวิชาอื่น ๆ ด้วย เพื่อให้งานวิจัยนั้นมีความหลากหลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เราเน้นการนำวิจัยมาประยุกต์ใช้ให้ได้ในความเป็นจริงพร้อมกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย
คำสำคัญ : งานวิจัย นโยบายไทยแลนด์ 4.0  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3439  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศริญณา มาปลูก  วันที่เขียน 7/9/2561 12:04:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 19:32:12
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน » สรุปความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน: งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่27
ปัจจุบันต้องการงานวิจัยที่ใช้ประโยชน์ได้จริง องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย อาจารย์สามารถนำไปแก้ปัญหาในธุรกิจภาครัฐและเอกชนได้
คำสำคัญ : ผลงานวิจัยที่ใช้ประโยชน์ได้จริง  รายได้ของอาจารย์และมหาวิทยาลัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2771  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วิชาญ คงธรรม  วันที่เขียน 25/8/2560 11:27:18  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/4/2567 12:31:01
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร » มุมมองวิจัยคณิตศาสตร์ในยุค ประเทศไทย 4.0
งานวิจัยคณิตศาสตร์ต้องตอบรับกับยุคประเทศไทย 4.0 ไม่ใช่งานวิจัยที่เก็บไว้ในกล่องรอมีคนนำไปใช้ นักวิจัยต้องชี้นำได้ว่าผลงานตอบปัญหาสังคมอย่างไร หรือมีประโยชน์ด้านไหน อย่างไร
คำสำคัญ : ประเทศไทย 4.0  วิจัยคณิตศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3402  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 23/8/2560 21:00:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/4/2567 13:55:34
อ. มธุรส ชัยหาญ » การได้รับรางวัลการนำเสนอภาคบรรยายดีเด่นงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 9th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being. STISWB
การได้รับรางวัลการนำเสนอภาคบรรยายดีเด่นงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 9th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being. STISWB ณ. มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีคุนหมิง นครคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน
คำสำคัญ : การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายม รางวัลการนำเสนอดีเด่นม งานประชุมวิขาการระดับนานาชาติ นครคุนหมิง ประเทศจีน  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3472  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มธุรส ชัยหาญ  วันที่เขียน 17/8/2560 11:12:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 1:38:08
รายงานสรุปการประชุม อบรม สัมมนา » การเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่)
สรุปความรู้ที่ได้จาการเข้าร่วมสัมมนา ทิศทางการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย โครงการ "วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย" (Training for the trainers) (แม่ไก่) และโครงการ "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" (ลูกไก่) วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ กทม.
คำสำคัญ : การเขียนข้อเสนอการวิจัยให้ได้ทุน  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3437  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิณนภา หมวกยอด  วันที่เขียน 28/9/2559 14:05:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 3:56:32