รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : การออกแบบ
สรุปการใช้ประโยชน์โครงการจัดการการเรียนการสอนที่ดีเพื่อปลูกฝังผู้เรียนมีความคิดใหม่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และการคิดค้นนวัตกรรม… » โครงการจัดการการเรียนการสอนที่ดีเพื่อปลูกฝังผู้เรียนมีความคิดใหม่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และการคิดค้นนวัตกรรม2566
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN QA version 4ต้องอาศัยหลักการTeaching methodเพื่อแก้ปัญหาการเรียนที่น่าเบื่อ เช่น อาจารย์พูดคนเดียวตลอดเช่น lecture คนเดียว ไม่ได้ให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม ให้เปลี่ยนมาเป็นการเรียนที่สนุกสุด ๆเช่นการที่มีการสอนโดยมีนักศึกษาเป็นศูนย์กลางให้ทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็น เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อก่อให้เกิดการกระตุ้นผู้เรียนให้คิดอาจแบ่งเป็นความคิดสร้างสรรค์และ คิดเชิงนวัตกรรมโดยความคิดเชิงสร้างสรรค์ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในต้องมีการผสมผสานknowledge skill attribute ต้องมีการแลกเปลี่ยนต้องมี creative thinking ต้องทำให้กล้าคิดไม่ยอมแพ้ กระตุ้นสร้างแรงจูงใจ ต้องกระตุ้นเรื่อย ๆ แต่อย่ามากเกินไปจะก่อให้เกิดความเครียดให้ผู้เรียนมากเกินไปส่วนความคิดเชิงนวัตกรรมจะต้องมีการเติมมูลค่าในการทำให้เกิดการคิดสร้างสรรค์ต้องมีประโยชน์กับส่วนรวมเช่น ชุมชน หมู่บ้าน ประเทศชาติต้องมีการพลิกมุม ต้องมีการ creative ต้องเป็นประโยชน์ ชัดเจน ต้องมีฐานข้อมูลและต้องมี big data การสอนที่ดีต้องอาศัยบทบาทที่สำคัญของผู้สอนดังนี้คือ ลักษณะผู้สอนที่ดีต้องชมด้วยความจริงใจยอมรับความมีค่าของแต่ละบุคคล อาจมีการชมในห้องหรือมีการชมส่วนตัว ห้ามpromote คนใดคนหนึ่งในห้อง ต้องผ่อนคลาย ต้องใส่ใจ สนใจในคุณค่าของทุกคนต้องถามว่าทำไมคิดแบบนี้ ต้องกระตุ้นไปเรื่อย ๆ และะการออกแบบการสอน-ต้องมีการแลกเปลี่ยนลักษณะที่สำคัญ1.ต้องมีแรงจูงใจการกระตุ้นแรงจูงใจต้องสร้างพื้นที่ปลอดภัย ไม่มีการตำหนิ สร้างความภูมิใจ2. การอบรมเลี้ยงดู3.ต้องมีบุคลิกภาพที่ดี 4.สมองดี และ5.สภาพแวดล้อมดีและเหมาะสมต่อการเรียนการสอน เทคนิคการสอน 1.LECTURE การสอนแบบบรรยายอย่างเดียว 2.DEMONSTRATION การสาธิตประกอบการสอน 3.EXPERIMENT การมีdirection lab มีการสรุปผลและวิจารณ์ผล 4.DEDUCTION/INDUCTION DEDUCTION คือต้องมีการพิสูจน์ทฤษฎี INDUCTIONคือต้องมีการสร้างทฤษฎีใหม่ 5.FIELD TRIP ใช้แหล่งเรียนรู้ ร่วมกับcreative สร้างproject 6.SMALL GROUP DISCUSSION การแบ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆในการเรียนการสอน 7.ROLE PLAYING เป็นบทบาทสมมุติ เป็นการประเมินสิ่งแวดล้อมให้เขาเป็นผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้านมาdebaseกัน 8.DRAMATIZATION เช่น การแสดงละคร ต้องมีการร่างบทสนทนา เช่น Science show 9.SIMULATION เริ่มด้วยการจำลองสถานการณ์ต่าง ๆ 10.COOPERATIVE LEARNING เป็นการร่วมมือแบบจิกซอ 11.WORK-INTEGRATED LEARNING การทำงานร่วมกันคล้ายสถานประกอบการ 12.PHENOMENON-BASED LEARNING เป็นปรากฏการณ์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เช่น โครงการบ้านโป่ง แม่โจ้ จัดเป็นจมูกของเชียงใหม่เป็นต้น 13.PROBLEM-BASED LEARNING เช่น การทำปัญหาพิเศษ
คำสำคัญ : AUN 4  teaching method  การออกแบบการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 509  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทุเรียน ทาเจริญ  วันที่เขียน 9/2/2566 11:10:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 18:30:00
ความรู้จากการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม » สังเกตการณ์โครงการยกระดับคุณภาพบริการของธุรกิจท่องเที่ยวในภาคเหนือด้วยวิธี SERVICE DESIGN (กลุ่มอาหาร)
SERVICE DESIGN คือ การออกแบบบริการ โดยนำเอาข้อมูลของลูกค้าที่สำคัญ มาจัดกลุ่ม และออกแบบบริการให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์ที่สอดคล้องตามความต้องการ ผลลัพธ์ที่ได้จากการออกแบบบริการคือ มาตรฐานบริการที่จะเป็นมาตรฐานในการให้พนักงานปฏิบัติตาม เพื่อส่งมอบบริการให้แก่ลูกค้า หลักสูตร SERVICE DESIGN THINKING Boot Camp จึงเป็นเหมือนเพื่อนช่วยคิด ฟื้นฟูเศรษฐกิจด้วย Service Design for Food ร่วมออกแบบการเรียนรู้ “4 ฐานคิด...ช่วยสร้างสรรค์เซอร์วิสที่ดีต่อใจ...ให้ธุรกิจเดินหน้าต่อไปในยุค POST PANDEMIC อย่างมั่นคง”
คำสำคัญ : การออกแบบบริการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1686  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จงรักษ์ บัวลอย  วันที่เขียน 27/5/2564 18:07:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 11:48:16
บทความที่น่าสนใจ » คู่มือการออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยศรีกุล นันทะชมภู
คู่มือการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นคู่มือสำหรับการพัฒนา การออกแบบระบบสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งนักพัฒนาระบบสารสนเทศจากทุกหน่วยงานจะต้องเข้าใจในกระบวนการวิธีการดำเนินงาน เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีแนวนโยบายไม่ให้แต่ละหน่วยงานไปจัดสร้างฐานข้อมูลซ้ำกับที่หน่วยงานกลางได้ดำเนินการ ซึ่งปัจจุบันศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดเก็บไว้เป็นศูนย์ข้อมูลกลาง โดยกระบวนการบันทึก แก้ไข หรือปรับปรุงข้อมูลจะอยู่ในความรับผิดชอบของเจ้าของข้อมูล เช่น ข้อมูลบุคลากร ให้กองการเจ้าหน้าที่ ข้อมูลทางด้านการเงิน ให้กองคลัง ข้อมูลนักศึกษา ให้สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ เป็นต้น
คำสำคัญ : คู่มือการปฏิบัติงานการออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3998  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/10/2558 15:59:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/4/2567 4:49:33
การวางผังเมือง/ภูมิทัศน์เมือง » ขุมทรัพย์สีเขียวแห่งเขลางค์นคร
จากการเดินทางมาสำรวจพื้นที่ในครั้งนี้ ทำให้ผู้เขียนตระหนักถึงทรัพยากรที่มีค่าของนครลำปาง ที่น้อยคนนักจะเห็นและให้ความสำคัญ หลายคนมองข้ามไป เป็นทรัพยากรที่มั่งคั่งและอุดมสมบูรณ์ อยู่ใกล้แทบปลายจมูกของทุกคน ทั้งชาวเมืองและแขกผู้มาเยือนเลยทีเดียว
คำสำคัญ : การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม  จังหวัดลำปาง  พื้นที่ริมแม่น้ำ  พื้นที่สาธารณะ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 11411  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 13/1/2554 13:16:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:57:37
การศึกษาด้านภูมิสถาปัตยกรรม » ครูไทยไปอเมริกา
จะเห็นได้ว่า การทำงานผสมผสานทั้งกลุ่มและทำงานส่วนบุคคล ส่งผลดีต่อวินัยในการปฏิบัติงานของนักศึกษา นอกจากนี้ การแบ่งการให้คะแนนตามลำดับขั้นตอนจะช่วยให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการตรวจแบบร่างมากขึ้น การเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาร่วม ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้บรรยากาศที่ใกล้เคียงกับการปฏิบัติงานจริงมากที่สุด
คำสำคัญ : Oklahoma State University  การเรียนการสอน  การออกแบบ  ภูมิสถาปัตยกรรม  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 12705  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 13/1/2554 12:30:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 3:19:29