รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : PACCON
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024) » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024)
ร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The Pure And Applied Chemistry International Conference 2024 (PACCON 2024) นำเสนอผลงานวิจัย ในรูปแบบโปสเตอร์ เรื่อง " Evaluation of the aromaticity of two star[3]calicene isomers" เมื่อวันที่ 26-27 มกราคม 2567 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ : PACCON 2024  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 403  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 12/2/2567 11:37:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:43:49
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 18th International Symposium on Novel Aromatic Compounds (ISNA-18) » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ PACCON 2023
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “The Pure And Applied Chemistry International Conference 2023 (PACCON 2023)” และนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ 20-21 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
คำสำคัญ : PACCON 2023  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 5806  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 22/3/2566 16:54:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 7:01:39
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ PACCON 2019 » การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ PACCON 2019
PACCON 2019
คำสำคัญ : PACCON  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1347  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภาพร แสงศรีจันทร์  วันที่เขียน 24/9/2562 15:19:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 6:42:23
PACCON 2019 » PACCON2019
จากการที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมงานงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านเคมีในงาน PACCON 2019 7 – 8 กุมภาพันธ์ 2562 สิ่งที่ได้รับ เพื่อนำมาแชร์ประสบการณ์ คือ งานวิจัยด้าน MOLECULAR SEITHCES โดย Prof. Dr. Bernard L. Feringa University of Groningen, The Netherlands 2016 Nobel Laureate in Chemistry MOLECULAR SWITCHES Chiroptical molecular switches and information storage In our initial attempts to design molecules with the intrinsic dynamic functions that ultimately evolved into molecular rotary motors, we took inspiration from the process of vision. ?is amazing natural responsive process is based on an elementary chemical step, the photochemical cis-trans isomerization around a carbon–carbon double bond in the retinal chromophore (Figure 1). We envisioned the exploration of this simple switching process in the design of molecular information storage units and responsive elements in dynamic molecular systems and materials. Although molecular bi-stability can be induced by various input signals including light, redox reactions, pH changes, metal ion binding, temperature, and chemical stimuli, the use of photochemical switching has distinct advantages as it is a non-invasive process with high spatial-temporal precision. Building on seminal work by Hirshberg on azobenzenes, Heller on fulgides, Irie on diarylethylenes and others, numerous photochromic molecules have been explored in recent years in our group to achieve responsive function, including control of optical and electronic properties of materials, supramolecular assembly processes and biological function. In our journey towards bistable molecules with excellent photoreversibility and high fatigue resistance, we focused on the synthesis of chiral overcrowded alkenes (Figure 1). Non-destructive read-out of state is a central aspect of any potential molecular information storage system, and was addressed by taking advantage of the distinct right (P)- and le (M)-handed helicities in this system, enabling read-out by chiroptical techniques far outside the switching Fig. 1 regime. ?e interconversion between two isomers with distinct chirality, i.e. a chiroptical molecular switch, denes a zero-one digital optical information storage system at the molecular level. Although high-density optical information storage materials based on this approach are promising, the fundamental challenge of addressing individual molecules at the nanoscale in a closely packed assembly in an all-optical device remains to be solved, despite the spectacular advances in single molecule detection techniques seen over the last decades [22]. At this point it is appropriate to emphasize two aspects of these studies. Firstly, the chiral overcrowded alkenes that formed the basis for the chiroptical molecular switches have their genesis in my PhD studies under the guidance of Hans Wijnberg on biaryl atropisomers. ?e idea that twisted olens might show atropisomerism was explored, using the then recently invented McMurry coupling reaction, in the synthesis of cis- and trans-isomers of inherently dissymmetric overcrowded alkenes (see Figure 2 for a time line) [23]. ?e realization that these novel structures had an intrinsic chiral stilbene type chromophore that was immune from the notorious photocyclization seen in stilbenes, provided a stepping stone more than a decade later to chiroptical switches and two decades Fig. 2 later to light-driven rotary molecular motors. Secondly, with the photoisomerization of these chiral overcrowded alkenes, reported in 1991 [24], we demonstrated that controlled clockwise or counterclockwise motion in either direction of one half of the molecule with respect to the other half was achieved simply by changing the wavelength of irradiation. Control of directionality of rotary motion was key to the latter development of molecular rotary motors. ?e photoresponsive overcrowded alkenes were used as chiral dopants in mesoscopic materials to achieve chiroptical switching between cholesteric liquid crystal phases [25], as well as control elements for molecular rotors [26]and for photoswitching the handedness in circular polarized luminescence [27]. ?e wavelengths of switching and the stereoselectivity of the isomerization process were tuned, for instance, via donor-acceptor substituents. In a series of studies together with the Harada group at Tohoku University, we established the chiroptical properties, absolute conguration and racemization pathways of biphenanthrylidenes [28]. An important milestone was our discovery of dynamic control and amplication of molecular chirality by circular polarized light (CPL) [25]. Here CPL irradiation shied the equilibrium between P or M helices of chiroptical switches to achieve a tiny chiral imbalance that was amplied through formation of a twisted nematic liquid crystalline phase. -is discovery strengthened the idea that unidirectional rotary motion was in principle possible using CPL irradiation although, on
คำสำคัญ : paccon2019  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1974  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 13/9/2562 14:08:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 19:46:15
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/งานประชุมวิชาการ » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference 2019 (PACCON 2019)
การประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference 2019 (PACCON 2019) จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “Together for the Benefit of Mandkind” ระหว่างวันที่ 7–8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC) บางนา กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ : PACCON2019  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2829  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วีรินท์รดา ทะปะละ  วันที่เขียน 4/4/2562 16:04:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 9:54:37
เผยแพร่และสรุปเนื้อหาเข้าร่วมประชุม PACCON2019 » เผยแพร่และสรุปเนื้อหาเข้าร่วมประชุม PACCON2019
ข้าพเจ้านางสาวอนรรฆอร ศรีไสยเพชร ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัด หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ Pure and applied Chemistry International Conference 2019 (PACCON 2019) ระหว่างวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ ข้าพเจ้าจึงขอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุม โดยได้เข้าร่วมฟังการบรรยายในหัวข้อต่างๆที่มีการนำเสนอในที่ประชุม ซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ดังต่อไปนี้ 1. เข้าร่วมประชุมวิชาการ PACCON 2019 และนำเสนอผลงานรูปแบบโปสเตอร์ในหัวข้อ The Study on Chemical Composition of Thai Chia Seed 2. ฟังบรรยายงานวิจัยที่ศึกษาถึงการนำวิศกรรมทางเอนไซม์มาใช้ในการปรับปรุงอนไซม์เพื่อกระตุ้นให้สามารถเร่งปฏิกิริยาในการสังคราะห์เชื้อเพลิงชีวภาพ 2. ฟังบรรยายงานวิจัยที่ศึกษาความเหมาะสมในการใช้ศาสตร์ทางด้านเคมีในการวิจัยเพื่อสังเคราะห์เชื้อเพลิง รวมถึงการใช้สารเคมีในการเร่งปฏิกิริยาและการนำมาใช้ใหม่ 3. ฟังบรรยายงานวิจัยที่ศึกษาการนำวัตถุดิบในธรรมชาติมาเป็นสารตั้งต้นในการผลิตพลังงานทดแทน 4. ฟังบรรยายงานวิจัยที่นำเสนอเกี่ยวกับการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อใช้ผลิตเซลลูโลส โดยภายหลังจากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ/อบรม ฯลฯ ข้างต้นแล้ว ข้าพเจ้าได้นำองค์ความรู้ที่ได้ มาปรับปรุงงานประจำให้เกิดประสิทธิภาพ ดังต่อไปนี้ ปรับปรุงและพัฒนาการสกัดสาระสำคัญจากพืชชนิดต่างๆ เช่น ต้นอ่อนข้าว และนำมาถ่ายทอดในการเรียนการสอน ตลอดจนนำข้อเสนอแนะในการนำมาผลิตเพื่อต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆมาถ่ายทอดในวิชาการเรียนรู้อิสระ รวมถึงนักศึกษาระดับโท เพื่อเป็นแนวทางและทำให้เกิดแนวความคิดด้านงานวิจัยได้อย่างเป็นรูปธรรม
คำสำคัญ : PACCON 2019  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3604  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนรรฆอร ศรีไสยเพชร  วันที่เขียน 15/2/2562 14:07:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 7:40:54