การศึกษาความสัมพันธ์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจกับการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลภายใต?สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.6-66.11
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 27 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาความสัมพันธ์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจกับการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลภายใต?สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
บทคัดย่อ :

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค?เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขต

ภาคเหนือตอนบน โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากรกลุ่มตัวอย่างใน

การศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้อำนวยโรงพยาบาลและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลแต่ละแห่ง จำนวน 102 แห่ง ช่วงระยะเวลาในการเก็บข?อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม 2566 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเส้นผลการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุระหว่าง 36 – 45 ปีจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีประสบการณ?ทำงานภายในโรงพยาบาลมากกว่า 15 ปีความถี่ในการฝึกอบรมเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงต่ำกว่า 5 ครั้งต่อปี และมีประสบการณ์การมีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระหว่าง 5 – 10 ปี โดยข้อมูลเชิงคุณลักษณะของคณะกรรมการบริหาความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบนไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบน และ 1) ปัจจัย

ภายในและปัจจัยภายนอกมีผลต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบนที่ระดับนัยสำคัญที่

0.01 2) การบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบนแต่ละแห่งไม่มีความแตกต่างกัน เนื่องจาก

กระทรวงสาธารณสุขเป็นหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ชาติที่ต้องได้รับการพัฒนาเพื่อสอดให้คล้องกับนโยบายระดับชาติ จึงเป็นผลให้สำนักงาน ก.พ.ร. ได้มีการพัฒนาเครื่องมือประเมินสถานะพร้อมทั้งจัดทำคู่มือเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐใช้เป็นแนวทางประเมินสถานะตน 3) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมขององค?กร พบว่าปัจจัยด้านบุคลากรมีความสัมพันธ์ต่อการบริหารความเสี่ยงที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และ 4) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของผู้ขอรับบริการ พบว่าปัจจัยด้านนโยบายภาครัฐมีความสัมพันธ์ต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ส่วนปัจจัยด้านกลยุทธ์ด้านโครงสร้าง ด้านระบบปฏิบัติงาน และด้านการจัดสรรงบประมาณ ไม่ส่งผลต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนบน

คำสำคัญ : การบริหารความเสี่ยง , โรงพยาบาล , COSO ERM 2017
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : A INVESTIGATION OF THE LING BETWEEN BUSINESS ENVIRONMENT AND RISK MANAGEMENT OF HOSPITALS IN THE UPPER NORTHERN REGION, FOCUSING ON HOSPITALS UNDER THE MINISTRY OF PUBLIC HEALTH
Abstract :

The purpose of this study was to study factors affecting risk management in hospitals in the

upper northern region. Using quantitative research and collecting data using questionnaires. The

sample population in this study is 102 hospital directors and risk management committees of each

hospital. The data collection period is from May - July 2023. Statistics used in data analysis include

the average. Analysis of percent standard deviation and linear regression

The results of the study found that The majority of the population is women. Aged between

36 - 45 years, graduated with a bachelor's degree. Serves as a member of the Risk Management

Committee Has more than 15 years of experience working within a hospital. The frequency of risk

management training is less than 5 times per year and has experience of participating in the risk

management committee between 5 - 10 years. According to the faculty characteristics The risk

management committee of hospitals in the upper northern region does not affect the risk

management of hospitals in the upper northern region and 1) internal factors and external factors

affect the hospital's risk management. in the upper northern region at a significance level of 0.01 2)

Risk management of each hospital in the upper northern region is not different. This is because the

Ministry of Public Health is one of the national strategic plans that must be developed to be

consistent with national policy. As a result, the Office of the Public Sector Development Commission

has developed a status assessment tool and a manual for government agencies to use as a

guideline to assess their status. 3) Organizational environmental factors. It was found that personnel

factors were related to risk management at a significance level of 0.01 and 4) environmental factors

of service recipients. It was found that government policy factors were related to risk management

of hospitals in the northern region at a significance level of 0.05. The risk management of hospitals

in the upper northern region is unaffected by strategic factors such as operating system structure

and budget allocation

Keyword : Risk management, Hospital, COSO ERM 2017
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ณัฐธิดา วงศ์กันทา
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ การบัญชี
ผู้วิจัยหลัก
60 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลยา ไชยวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศฐา วรุณกูล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลชญา แว่นแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
27/9/2565 ถึง 31/12/2566
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
25 ธันวาคม 2566
วารสารที่ตีพิมพ์ : Journal of HRintelligence : HRi 
ฉบับที่ : 18(2)
หน้า : 50-71
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023