การมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหาร กรณีศึกษาตลาดใต้เคี่ยม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : ชพ.65-นศ.-003
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 มกราคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหาร กรณีศึกษาตลาดใต้เคี่ยม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
บทคัดย่อ :

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการจัดการการท่องเที่ยว เชิงอาหาร กรณีศึกษาตลาดใต้เคี่ยม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ประกอบการภายในตลาดใต้เคี่ยม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร จำนวน 15 คน ผลการวิจัย พบว่า ผู้ประกอบกา รมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหารด้วยการชักนำหรือสร้างแรงจูงใจ และระดับการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการ สามารถจำแนกได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) การร่วมเสนอความคิดเห็น 2) การร่วมปฏิบัติ และ 3) การร่วมรับผลประโยชน์ ทั้งนี้ ผลการศึกษาทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบสถานการณ์การมีส่วนร่วมในปัจจุบันและแนวทางในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในอนาคต

คำสำคัญ : การมีส่วนร่วม ผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเชิงอาหาร
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Participation of entrepreneurs in gastronomy tourism management: A case study of Tai Kiam Market, Lamae District, Chumphon Province
Abstract :

The purpose of this research is to study level of entrepreneurs' participation in gastronomy tourism management: a case study of Tai Kiam Market, Lamae District, Chumphon Province. This research was a qualitative research. Data were collected using in-depth interviews from 15 entrepreneurs. The results showed that the entrepreneurs participate in gastronomy tourism management with induced participation, and the level of participation of entrepreneurs can be categorized into 3 categories: exchanging opinions, cooperating, and sharing benefits. According to the results, all stakeholders are aware of the current participation situation as well as guidelines for managing Tai Kiam Market in the future.

Keyword : participation, entrepreneurs, gastronomy tourism
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมวางแผน และพัฒนา
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อรอุมา นาคเป้า
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
30 ไม่ระบุ
2 มลฤดี แซ่ติ้น
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
30 ไม่ระบุ
3 นิตยา ทิศกองราช
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
30 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/1/2565 ถึง 31/5/2565
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
9 ธันวาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : -
หน้า : 425-433
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023