โครงการ การต่อยอดองค์ความรู้สู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์กัญชงด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : โครงการ การต่อยอดองค์ความรู้สู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์กัญชงด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

โครงการ “การต่อยอดองค์ความรู้สู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์กัญชงด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่” เป็นโครงการที่ต้องการขยายผลและถ่ายทอดต่อยอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเดิมสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อยอดองค์ความรู้ใหม่ โดยวัตถประสงค์ในการต่อยอดองค์ความรู้ประกอบด้วย 4 หัวข้อคือ ได้แก่

1) พัฒนานวัตกรรมเครื่องทอผ้าใยกัญชงเพื่อทดแทนการทอผ้าแบบดั้งเดิม 2) เพื่อส่งเสริมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกัญชงด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ 3) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือทิ้งกัญชงจากผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นให้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ 4) เพื่อส่งเสริมการตลาดออนไลน์สู่ช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์กัญชงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน ในพื้นที่หลัก ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าทอใยกัญชง บ้านแม่สาน้อย ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เป้าหมายการต่อยอดงานวิจัยในครั้งนี้จะได้ผลลัพธ์คือ นวัตกรรมเครื่องปั่นด้ายใยกัญชง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากกัญชง เครื่องผลิตปุ๋ยเพื่อสร้างปุ๋ยจุลินทรีย์ และระบบการตลาดออนไลน์ด้วยการสร้าง Story Telling การสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกัญชง เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนต่อยอดองค์ความรู้สู่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์กัญชงด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จากนั้นได้มีการถ่ายทอดบทเรียนความสำเร็จให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป้าหมายและขยายผลในพื้นที่ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอื่นต่อไป

คำสำคัญ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตกรรมเพื่อต้องการให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากโดยมีเป้าหมายสำคัญ คือต้องการสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชนให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์ความรู้ สินค้าหัตกรรมซึ่งถือเป็นผลิตภัณฑ์สำคัญของเศรษฐกิจชุมชน การต่อยอดอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดคล้องรับบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนให้มีนวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าบนพื้นฐานการผลิตแบบลดปริมา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :
Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ประเภทงานวิจัย : การพัฒนาทดลอง
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผศ.ดร.ชนินทร์ มหัทธนชัย
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผศ.บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 อาจารย์ ดร.ณัฐต์ณิชา สุขเกษม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผศ.สุชาดา เมฆพฒน์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 ผศ.ดร.เสรี ปานซาง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
6 อาจารย์.ดร.บุษราภรณ์ มหัทธนชัย
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
7 นางนีรนาท ตาจุมปา
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
แหล่งทุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
500,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 500,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
28 กรกฎาคม 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023