ระบบห่วงโซ่อุปทาน และความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการห่วงโซ่อุปทานกับ การวัดสมรรถนะในโซ่อุปทานของทุเรียนในภาคใต้

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-093
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ระบบห่วงโซ่อุปทาน และความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการห่วงโซ่อุปทานกับ การวัดสมรรถนะในโซ่อุปทานของทุเรียนในภาคใต้
บทคัดย่อ :

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบห่วงโซ่อุปทานของทุเรียนในพื้นที่ภาคใต้

และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการห่วงโซ่อุปทานกับการวัดสมรรถนะในโซ่อุปทานของ

ทุเรียนโดยใช้เทคนิควิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative

Research) ควบคู่กัน

ผลวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ทุเรียนในภาคใต้ พบว่า

ประกอบด้วย ห่วงโซ่อุปทานที่สำคัญ คือ ต้นน้ำหรือผู้ผลิต ได้แก่ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน กลางน้ำ

ได้แก่ ผู้ที่ทำหน้าที่รวบรวมหรือรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรผู้ผลิตและนำไปจำหน่ายต่อหรือแปรรูป

ประกอบด้วย ผู้ประกอบการคัดแยกเพื่อการส่งออกจำหน่ายต่างประเทศและในประเทศ (ลาน

ทุเรียน/ล้ง) และกลุ่มผู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ทุเรียน (ทุเรียนอบแห้งและทุเรียนกวน) พ่อค้าคนกลาง

(ขายส่ง) และปลายน้ำ ได้แก่ ผู้ส่งออก ลูกค้าภายในประเทศ ตลาดต่างประเทศ

2) กระบวนการจัดการโซ่อุปทานจะส่งผลการความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างมี

นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือ กระบวนการจัดการโซ่อุปทานจะช่วยเพิ่มความได้เปรียบใน

การแข่งขันของกิจการทั้งในด้านของต้นทุน คุณภาพ และระยะเวลา

3) กระบวนการจัดการโซ่อุปทานส่งผลต่อผลการดำเนินงานของกิจการอย่างมี

นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

4) ความได้เปรียบในการแข่งขันส่งผลต่อผลการดำเนินงานของกิจการอย่างมี

นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Study to Supply Chain System, Relationship of Supply Chain Management and Performance Measurement in Durian Supply Chains
Abstract :

The purpose of this research is analysis the relationships between supply chain

management and Performance Measurement in Durian Supply Chains. The study uses qualitative

research techniques and quantitative research together.

The results showed that; 1. A supply chain of durian products in south of Thailand,

Include: 1) Upstream such as, durian farmers 2) Middle such as, cooperatives, department stores,

middlemen, processing plants, operators and exporters 3) Downstream such as, exporters,

domestic customers, foreign customers.

2. The SCM practices have direct impact on competitive advantage, significant at

the 0.05 level.

3. The SCM practices have direct impact on firm performance, significant at the

0.05 level.

4. competitive advantage direct impact on firm performance, significant at the 0.05

level.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ฉัตรนลิน แก้วสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2560)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2560
1/10/2559 ถึง 30/9/2560
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดิน
291,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 291,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023