การประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์โดยใช้เอนไซม์ไทโรซิเนสตรึงร่วมกับคาร์บอนดอทหุ้มด้วยไคโตซาน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-011.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์โดยใช้เอนไซม์ไทโรซิเนสตรึงร่วมกับคาร์บอนดอทหุ้มด้วยไคโตซาน
บทคัดย่อ :

โดปามีนไบโอเซนเซอร์สาหรับการตรวจวัดโดปามีนในตัวอย่างเลือดถูกพัฒนาขึ้นโดยการปรับปรุงด้วยไคโตซานแอทคาร์บอนดอท (CHIT@CD) และตรึงทับด้วยเอนไซม์ไทโรซิเนส (Tyr) บนขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีน (SPCE) (SPCE/CHIT@CD/Tyr) ในงานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์คาร์บอนดอทและทดสอบคุณลักษณะด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่าเป็นแบบแท่งเรียว ขนาดของแท่งประมาณ 2 x 5 ไมโครเมตร ส่วนอีกแบบที่พบแบบแผ่นซึ่งมีขนาดประมาณ 5 x 5 ไมโครเมตร เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเอนเนอร์จีดิสเปอร์ซีพเอ็กซ์เรย์ (อีดีเอ็กซ์) พบพีกของเค-คาร์บอน เกิดที่ 0.25 keV มีธาตุคาร์บอนเป็นส่วนประกอบโดยน้าหนัก 61.94 เปอร์เซ็นต์ คาร์บอนดอทที่ได้นี้ถูกนาไปสังเคราะห์ต่อเป็นไคโตซานแอทคาร์บอนดอทสาหรับประดิษฐ์เป็นไบโอเซนเซอร์ต่อไป

ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนประดิษฐ์ขึ้นที่ห้องวิจัย มีความต้านทาน 19.41 กิโลโอห์ม สาหรับการทดสอบต่อการตอบสนองต่อโดปามีนพบว่าไบโอเซนเซอร์ SPCE/CHIT@CD/Tyr ให้การตอบสนองที่ดีมาก มีสัญญาณการตอบสนองที่ดี มีค่าการทาซ้าและการผลิตซ้าที่สูง ไบโอเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นให้สภาพไวต่อโดปามีนในระดับที่ดีมากโดยมีสภาพไวเท่ากับ 36.67 ไมโครแอมแปร์ต่อมิลลิโมลาร์ มีช่วงความเป็นเส้นตรงกว้าง (0.1 ไมโครโมลาร์ – 0.10 มิลลิโมลาร์) มีขีดจากัดการตรวจวัดที่ต่ามากถึง 0.036 ไมโครโมลาร์ มีความเลือกเฉพาะสาหรับการตรวจโดปามีนปราศจากการรบกวนจากกรดแอสคอร์บิก เอทานอล กลูโคส และซูโครส

การทดสอบเสถียรภาพของโดปามีนไบโอเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นพบว่ากระแสไฟฟ้าลดลงเหลือ 90 เปอร์เซ็นต์เมื่อใช้ไป 7 ครั้ง และยังเหลือมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์เมื่อใช้ไป 25 ครั้ง สรุปได้ว่า ขั้วไฟฟ้าที่พัฒนาขึ้นมีเสถียรภาพที่สูง การทดสอบโดปามีนโนเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นกับตัวอย่างเลือดจริงพบว่าสามารถทดสอบได้โดยง่าย ตัวอย่างเลือดไม่ต้องผ่านการแยกหรือการเติมสารใด ๆ โดปามีนไบโอเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นให้ค่าเปอร์เซ็นต์การย้อนกลับคืนในช่วง 99.79 – 104.82 เปอร์เซ็นต์

คำสำคัญ : โดปามีนไบโอเซนเซอร์ , ไคโตซานแอทคาร์บอนดอท , ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

Dopamine biosensors for blood samples was developed using chitosan at carbon dots (CHIT@CD) and the tyrosinase enzymes (Tyr) on the surface of screen-printed carbon electrode (SPCE) (SPCE/CHIT@CD/Tyr). CD were synthesized and tested by scanning electron microscope (SEM). It founds that the shape of CD like a tapered bar with the size of 2 x 5 micrometers. The other type is found in the sheet, which is approximately 5 x 5 micrometers. The energy-dispersive x-ray spectroscopy (EDX) study found the peak of the K-Carbon occurs at 0.25 keV with 61.94 weight percent of carbon as the main element. This CD was used as the center material for chitosan shelt stabilized as CHIT@CD.

The home-made SPCE has a resistance of 19.41 kilo-ohms. The SPCE/CHIT@CD/Tyr showed a good response, high repeatability and reproducibility. The developed biosensors provide high sensitivity to dopamine at 36.67 ?A mM-1. It has a wide linearity range (0.1 ?M – 0.10 mM), with a very low detection limit of 0.036 ?M and without interfered from ascorbic acid, ethanol, glucose and sucrose.

The stability test of the developed dopamine biosensor found that the current reduced to 90 percent at 17 times usage and still more than 50 percent when 25 times usage. It is meaning that the developed electrode is stable for 25 times. Moreover, the developed dopamine biosensors had been tested with real blood samples without having sample preparation. It provided a percentage recovery in the range of 99.79 – 104.82 percent.

Keyword : Dopamine biosensors, Chitosan at carbon dots, Screen printed carbon electrode
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธานินทร์ แตงกวารัมย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
75 ไม่ระบุ
2 น.ส.จิราภรณ์ กิติกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
400,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 400,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023