การประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้วัสดุนาโนของกราฟีนร่วมกับอนุภาคโลหะ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-011.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้วัสดุนาโนของกราฟีนร่วมกับอนุภาคโลหะ
บทคัดย่อ :

เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดกรดยูริคได้พัฒนาขึ้นในปีที่ 1 เซนเซอร์ยูริคเตรียม

ขึ้นโดยการนำสารละลายโลหะทองแดงยึดติดกับกราฟีนออกไซด์เป็นวัสดุผสม (Cu@GO) ตรึงบน

ขั้วไฟฟ้าราคาถูกของคาร์บอนไส้ดินสอ ด้วยทางเคมีไฟฟ้าเพียงขั้นตอนเดียวของเทคนิคไซคลิกโว

ลแทมเมตรี (Cu@GO/PCE) ได้ประสิทธิภาพในการตรวจวัดในช่วงความเข้มข้น 0.4-820 ?M ด้วย

ความไวในการตรวจวัด 0.067 ?A/?M ขีดจำกัดในการตรวจวัด 0.24 ?M ในปีที่ 2 ได้นำเซนเซอร์

ไปประยุกต์ใช้ตรวจวัดกรดยูริคในตัวอย่างปัสสาวะ และเลือด โดยผลการวิเคราะห์ในตัวอย่าง

ได้เปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐานตามงานวิจัยที่สืบค้นมา และเทียบกับผลตรวจเลือดตรวจใน

ห้องปฏิบัติการเทคนิคทางการแพทย์ จากผลการวิจัยได้ทดสอบค่าทางสถิติ Paired sample T-test

เป็นคู่ระหว่างวิธีเทคนิคทางการแพทย์กับวิธีมาตรฐานตรวจวัดด้วยไมโครเพจรีดเดอร์ พบว่าค่าการ

ตรวจวัดกรดยูริคไม่ต่างอย่างมีนัยสำคัญ และเมื่อทดสอบค่าทางสถิติ Paired sample T-test ระหว่าง

วิธีเทคนิคทางการแพทย์กับวิธีทางเคมีไฟฟ้าด้วยเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้น พบว่าค่าการตรวจวัดกรดยูริค

ไม่ต่างอย่างมีนัยสำคัญ ยิ่งไปกว่านั้นผลของการตรวจวัดการหาปริมาณกรดยูริคในปัสสาวะและ

เลือด จำนวน 8 ตัวอย่าง ด้วย 2 เทคนิคคือเทคนิคมาตรฐานตรวจวัดด้วยไมโครเพลทรีดเดอร์ และ

เซนเซอร์ตรวจวัดกรดยูริคที่พัฒนาขึ้นได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้ 32.10-198.60 mg/dL และ 59.80 –

206.38 mg/dL ในตัวอย่างปัสสาวะ 3.01-4.68 mg/dL และ 3.05-4.57 mg/dL ในตัวอย่างเลือด

ตามลำดับ เมื่อทดสอบค่าทางสถิติแบบ Paired sample T-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้ค่าของ

กรดยูริคไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ

คำสำคัญ : คำสำคัญ: เคมีไฟฟ้า เซนเซอร์กรดยูริค ทองแดง กราฟีนออกไซด์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

Uric acid electrochemical sensor was developed in the first year of this research. The uric

acid sensor was prepared a novel Cu metal loaded GO (Cu@GO) hybrid material by a step of cyclic

voltammetric electrodeposition method on low cost electrode of pencil carbon electrode

(Cu@GO/PCE). The measurement performance of uric acid sensor was achieved wide linearity,

high sensitivity, and low detection limit as 0.4-820 ?M, 0.067 ?A/?M, and 0.24 ?M, respectively.

In the second year of this research, the uric acic electrochemical sensor was applied to detect uric

acid in urine and blood sample. The samples analysis result was compared with standard methode

research obtained with UV-Vis spectrophotometry from microplate reader and also compared with

examination in biomedical technology of BIOLAB laboratory. The Paired sample T-test statistic

was used for comparisor between biomedical technology of BIOLAB laboratory with standard

methode in microplate reader, and biomedical technology of BIOLAB laboratory with uric acid

electrochemical sensor. The both of paired sample T- test statistic result were shown not

significantly different. Forthermore, the 8 urine and blood samples analysis by 2 techniqes that

standard methode in microplate reader and uric acid electrochemical sensor were received 32.10-

198.60 mg/dL and 59.80 – 206.38 mg/dL in urine samples, and 3.01-4.68 mg/dL and 3.05-4.57

mg/dL in blood samples, respectively. And also, this result was tested the paired sample T-test at

95% confidence level, it shows not significantly different.

Keyword : electrochemistry, uric acid sensor, copper, graphene oxide
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นางพิมพร มะโนชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
50 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
300,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 300,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023