ระบบฐานข้อมูลบัญชีกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-009
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 26 มกราคม 2561 ถึง 26 มกราคม 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ระบบฐานข้อมูลบัญชีกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

สวนกล้วยไม้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ตั้งอยู่ที่ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ภายในสวนมีกล้วยไม้จานวนมาก สายพันธุ์ หลากหลายและปลูกติดกันอย่างหนาแน่นบนกิ่งต้นมะม่วง ทาให้เกิดอุปสรรคต่อการจาแนกสายพันธุ์ ระบุตาแหน่ง รวมถึงการจัดทาฐานข้อมูล โดยระบบปัจจุบัน เจ้าหน้าที่โครงการมีการจัดทาป้ายข้อมูลกระดาษแสดงรหัสของกล้วยไม้เขียนด้วยลายมือ ติดไว้ตามกิ่งต้นไม้ ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่าง ได้แก่ ชารุด เสียหายได้ง่าย ตัวหนังสืออ่านยาก ความไม่สวยงาม รวมถึงรบกวนต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ และยังชารุด เสียหายได้ง่าย อีกทั้งสวนกล้วยไม้นั้นยังไม่มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมต่าง ๆ

คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลบัญชีกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน สาหรับจัดการสวนกล้วยไม้ไทย โดยระบบแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ 1. สถานีตรวจวัดอากาศโดยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things) สาหรับการเก็บข้อมูลสภาพอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ความเร็วลม 2. ชุดเครื่องมือ Raspberry Pi สาหรับจัดการข้อมูลภายในสวนกล้วยไม้ ชนิดพกพา โดยใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) ได้ทาการติดตั้งบนต้นไม้ทั้งหมด 56 ต้น จานวน 452 ตัว ซึ่งใช้เก็บข้อมูลลักษณะทางด้านกายภาพ 3. เว็บไซต์ในการจัดการฐานข้อมูลกล้วยไม้ สาหรับเจ้าหน้าที่โตรงการ โดยผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้งานระบบทั้งหมด 3 ส่วน จากผู้ใช้งาน ได้ผลคะแนนเฉลี่ยโดยรวมทั้งอยู่ที่ 4.08 คะแนนจาก 5 คะแนนเต็ม

คำสำคัญ : ระบบฐานข้อมูล กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน อาร์เอฟไอดี
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Database system for genuine royal Thai in Chiang Mai province
Abstract :

An orchid farm under the Plant Genetic Conservation Project under the royal initiation of Her Royal Highness Princess Maha Chakri SirindhornFarmers (RSPG) is located in Maerim district, Chiang Mai. The farm hosts a large variety of orchid plants which are growth densely on the branch of the mango trees. Hence, it is very difficult tasks to identify their species, locate a specific orchid, and create a database. Currently, RSPG officers used handwritten paper tags to identify the orchids on the tree branches. This tagging approach has several disadvantages: vulnerable, difficult to read, hideous, and hostile to the plants. Moreover, the farm does not have any system in place for environmental data logging.

We have developed a database system for genuine royal Thai orchid for management data in the orchid farm. The system are divided into three parts. First, the weather data which is integrated with Internet of Things technology are used for collecting weather data such as temperature, humidity and wind speed. Second, we developed a handheld Raspberry Pi tool with RFID technology for farm data management. The amount of 452 tags were installed on 56 trees for storing orchid physical data. Third, a website database was built for the officer. We evaluated our system by conducting the user satisfactory questionnaire. The system received an overall score of 4.08 out of 5.

Keyword : Database System Genuine Royal Thai Orchid RFID
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.ภรต รัตนปิณฑะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์พิชชยานิดา คำวิชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้.
287,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023