23229 : โครงการเพิ่มมูลค่าเนื้อสัตว์เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/3/2568 14:09:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/04/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  ผู้บริโภค ได้แก่ บุคลากร นักศึกษา และบุคคลภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมู (ขนาด 500 กรัม ) จำนวน 80 ถุง ๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท 2568 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อนุกูล  จันทร์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68-5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68-5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68-5.1.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าเกษตรไม่มีว่าเป็นพืชผล หรือเนื้อสัตว์ เป็นเทคนิคที่สำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้นจากผลผลิตของตัวเองได้ โดยความหมายโดยทั่วไปจะหมายถึง การนำผลผลิตทางการเกษตรมาเพิ่มลักษะพิเศษหรือจุดเด่นบางอย่างให้ต่างไปจากเดิม เพื่อให้ตรงต่อความต้องการของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นในยุคปัจจุบันที่มุ่งเน้นสุขภาพเป็นหลัก โครงการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพ ความปลอดภัย และความยั่งยืน นอกจากนี้ โครงการยั พร้อมส่งเสริมการนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตนอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในด้านการขับเคลื่อนเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน การเพิ่มศักยภาพในการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในด้านการพัฒนาสุขภาพและความเป็นอยู่ของชุมชน ดังนั้น การดำเนินโครงการนี้ จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตและบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย สนับสนุนชุมชนในการสร้างเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง และส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหารและน้ำดื่มเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ให้มีความปลอดภัย และได้มาตรฐาน โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย
2 เพื่อส่งเสริมการนำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์
3 เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์
4 เพื่อสร้างรายได้จากการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรให้กับส่วนงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริโภค
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรูปต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 3 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (กำไรสุทธิ) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4400 บาท 4400
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของโครงการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10000 บาท 10000
KPI 5 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่จัดจำหน่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์
ชื่อกิจกรรม :
สร้างผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์เพื่อการจำหน่าย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/04/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คน ๆ ละ 30 ชั่วโมง ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002โครงการแปรรูปเนื้อสัตว์.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11201341 เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์ ใช้กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มความเข้าใจในเทคโนโลยีการผลิตอาหารปลอดภัย นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการปฏิบัติจริงในโครงการ เพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพและการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง
ช่วงเวลา : 31/03/2568 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล