23135 : โครงการการเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนและการสร้างคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้และเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/2/2568 15:56:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. แหลมไทย  อาษานอก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 68-6.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่พัฒนาตามยุทธศาสตร์ /อัตลักษณ์ของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 68-6.1.2 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้าน SDGs เป้าหมายที่ 13 Climate Action
กลยุทธ์ 68-6.1.2.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติที่มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานท้องถิ่นหรือชุมชนในพื้นที่ได้รับทราบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงมากขึ้น ฝนไม่ตกต้องตามฤดูการ ผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ทำให้ทั่วโลกหันมาตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น เกิดความร่วมมือในการจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณภูมิของโลก และจากการประชุม ‘COP28’ หรือ การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 28 (UNFCCC COP28) จัดขึ้น ณ เมืองดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน – 12 ธันวาคม 2566 ซึ่งประเทศไทยได้เข้าร่วมในการประชุม COP 28 ร่วมกับผู้นำโลกกว่า 200 ประเทศทั่วโลก เพื่อหารือและวางแนวทางจำกัดอุณภูมิโลกไม่ให้สูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส เพื่อแก้ปัญหา “โลกเดือด” ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การติดตามเร่งรัดการมุ่งหน้าสู่การใช้แหล่งพลังงานสะอาด และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ให้ได้ก่อนปี 2573 สำหรับการประชุมรัฐภาคี COP 28 ประเทศไทยเสนอ 4 ประเด็นสำคัญ ดังนี้ 1. การขับเคลื่อนนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับโลก ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ 2. เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3. กลไกการเงินด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผ่านการเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนสิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการคาร์บอนเครดิต 4. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในทุกระดับ นอกจากนี้ภาครัฐยังเร่งผลักดันพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วย เพื่อให้ประเทศไทยสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้ จากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ปี พ.ศ.2565 ได้มีโครงการจัดตั้งวิทยาลัยป่าไม้เพื่อตอบสนองความต้องการของพื้นที่จังหวัดแพร่และพื้นที่ใกล้เคียง ในด้านการ แก้ปัญหาการฟื้นฟู พื้นที่ป่าไม้ รวมทั้งการเพิ่มปริมาณการกักเก็บคาร์บอน ในพื้นที่ป่าไม้ที่เสื่อมโทรม ลดโลกร้อน สอดคล้องและสนับสนุนนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ปี 2562 นโยบายด้านการพัฒนาระบบบริหารและองค์กรเกี่ยวกับป่าไม้ (นโยบายข้อที่ 3.3) อีกทั้งยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ซึ่งเน้นในเรื่อง ดิน น้ำ ป่า เพื่อตอบสนองความต้องการของพื้นที่ นอกจากนี้ การพัฒนาวิทยาลัยการป่าไม้ยังสามารถตอบสนองแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569) อีกด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้เปิดทำการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และได้ดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ยุทธศาสตร์จังหวัดแพร่ และยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะเวลาที่ผ่านมาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร และสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ได้ดำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้หลายด้าน เช่น GO Eco Unversity การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการแก้ไขปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่งเสริมนักศึกษาเป็นผู้ประกอบการ และการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน รวมถึงการดำเนินการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมโครงการเพื่อสนองต่อแผนพัฒนาความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัย “พลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่การสร้างบัณฑิตผู้ประกอบการเศรษฐกิจสร้างคุณค่าด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในระดับนานาชาติ” ปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีวิสัยทัศน์เพื่อ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีเครือข่ายความร่วมมือเชิงวิชาการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางเกษตรกรรมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เป็นศาสตร์ผสมผสานสอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่ มีความโดดเด่นในด้านการเกษตรอัจฉริยะเพื่อสุขภาวะที่ดี (Intelligence Well-being Agriculture (IWA)) ด้วยบุคลากรที่มีทักษะระดับมืออาชีพ และการบริหารจัดการที่มีการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อก้าวสู่ความเป็นเลิศในระดับสากลบนตัวตนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเน้นผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติที่มีความเชี่ยวชาญ (Hands-on Professional) ผู้ประกอบการ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมหาวิทยาลัยแม่โจ้ยังได้ตระหนักถึงความสำคัญในประเด็น “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นคณะที่สามารถตอบสนองนโยบายของ SDGs ในเป้าหมายที่ 13 “การปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น” ได้เป็นอย่างดี โดยโครงการนี้มีความสอดคล้องที่เป็นการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิตพืชได้อย่างยั่งยืนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุของหลักสูตรฯ และสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัย และนโยบายของ SDGs ให้มีความต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา ทางศูนย์การจัดการก๊าวเรือนกระจก จึงได้เสนอโครงการอบรม “การเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนและการสร้างคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้และเกษตร” เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งการดำเนินกิจกรรมของโครงการจะมีความสอดคล้องและครอบคลุมตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อเป็นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนานักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่ารวมถึงประชาชนได้อย่างสมบูรณ์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสภาวะโลกร้อน ความเป็นกลางทางคาร์บอน คาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้ และเกษตร
2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำข้อเสนอโครงการ ภายใต้มาตรฐาน T-VER
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการเป็นผู้พัฒนาข้อเสนอโครงการ คาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้และเกษตร
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการเป็นผู้พัฒนาข้อเสนอโครงการ คาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้และเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
อมรบเชิงปฏิบัติการ "การเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนและการสร้างคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้และเกษตร"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย  อาษานอก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล