23127 : โครงการเสริมการเรียนรู้รายชั้นปี Be the next Gen of Hospitality (Grooming)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/2/2568 14:15:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2568  ถึง  08/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  98  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รหัส 66 จำนวน 98 คน พร้อมด้วยอาจารย์ผู้ควบคุมกิจกรรม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2568 29,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปานแพร เชาวน์ประยูร  อุดมรักษาทรัพย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 TDS 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 TDS 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 TDS 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 67-70 TDS พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจท่องเที่ยวและบริการตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการ อีกทั้งมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้หลักสูตรต่าง ๆ มีการจัดทำหลักสูตรให้เป็นไปตามหลักการ Outcome-Based Education (OBE) หลักสูตรฯ จึงมีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวในแต่ละปี ซึ่งตลอดหลักสูตรฯ ได้วางเป้าหมายการเรียนรู้ของนักศึกษา 6 ข้อ ได้แก่ 1) เข้าใจศาสตร์ทางการท่องเที่ยวและบริการ หลักการจัดการ และจริยธรรมทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 2) ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ เพื่อสร้างสินค้าและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 3) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจได้ 4) สามารถประเมินแนวโน้มของธุรกิจท่องเที่ยวและบริการในอนาคต 5) สร้างแผนธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ที่มีจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมได้ และ 6) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ และมีจิตบริการ โครงการ Be the Next Gen of Hospitality: Professional Grooming เป็นการเสริมสร้างมาตรฐานการแต่งกายและการปฏิบัติตัวในเชิงพาณิชย์ มีประโยชน์อย่างมากกับนักศึกษาในหลักสูตรฯ เนื่องจากเป็นส่วนสำคัญในการเสริมสร้างทักษะและภาพลักษณ์ของนักศึกษาในฐานะผู้ประกอบการที่มีความพร้อมในการเข้าสู่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการที่มีการแข่งขันสูง ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจและความสามารถในการแข่งขันในตลาดงานของนักศึกษาหลังจากจบการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้เป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับนักศึกษา
เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาในการเข้าสู่การทำงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษานำมาตรฐานการแต่งกายและการปฏิบัติตัวไปใช้ในการจัดการสถานการณ์จริง
KPI 1 : นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมและมีการเก็บข้อมูลการแต่งหน้า แต่งตัว ก่อนและหลังทำกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 2 : นักศึกษานำมาตรฐานการแต่งกายและการปฏิบัติตัวไปใช้ในการจัดการสถานการณ์จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
16 ครั้ง 16
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษานำมาตรฐานการแต่งกายและการปฏิบัติตัวไปใช้ในการจัดการสถานการณ์จริง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการฝึกอบรมหลักสูตร ".Professional Grooming Standard "

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2568 - 08/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปานแพร เชาวน์ประยูร  อุดมรักษาทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าลงทะเบียนฝึกอบรมหลักสูตร ".Professional Grooming Standard " จำนวน 300 บาท x 98 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 29,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 29,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 29400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล