23116 : โครงการอบรมผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า - ส่งออก ไม้ดอก ไม้ประดับ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/2/2568 16:27:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน รายรับจากค่าลงทะเบียนสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คนๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท 2568 34,704.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วรวุฒิ  งามพิบูลเวท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.4 เพิ่มรายได้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68-5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68-5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68-5.1.2.2 เพิ่มรายได้ให้กับส่วนงาน โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญประเทศหนึ่งของโลก เนื่องจากข้อได้เปรียบทางสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ ประกอบกับข้อมูลและเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการผลิต การปรับปรุงพันธุ์ และการดูแลรักษาคุณภาพภายหลังการเก็บเกี่ยว ไม้ดอกเศรษฐกิจที่สำคัญของไทยได้แก่ กล้วยไม้ โดยมีปริมาณและมูลค่าการส่งออกมากสุดเป็นอันดับหนึ่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและทำรายได้เข้าประเทศมากกว่าสองพันล้านบาทต่อปี สำหรับไม้ดอกเศรษฐกิจที่มีความสำคัญรองลงมาได้แก่ปทุมมา หรือสยามทิวลิป ตลาดต่างประเทศมีแนวโน้มความต้องการหัวพันธุ์ปทุมมาจากประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี รวมไปถึงการเพิ่มปริมาณการส่งออกปทุมมาในรูปแบบอื่น ๆ เช่น ปทุมมาตัดดอก หัวพันธุ์ปทุมมาแบบพักตัว และไม่พักตัว เป็นต้น ในปัจจุบันความต้องการใช้ไม้ดอกเมืองหนาวมีมากขึ้นแต่ยังมีการปลูกได้น้อยอยู่จึงอาจจะสามารถพัฒนาเพื่อเป็นไม้ดอกเศรษฐกิจต่อไปในอนาคตได้อย่างไรก็ตามปัญหาเศรษฐกิจของไทยและเศรษฐกิจโลกได้ส่งผลกระทบต่อการส่งออกไม้ดอกไม้ประดับจากประเทศไทย การถูกกีดกันทางการค้า การกดราคาของประเทศคู่ค้า และการเพิ่มขึ้นของประเทศคู่แข่ง ประเทศไทยจึงต้องเร่งพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ ความหลากหลายของสายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เพื่อรักษาตำแหน่งผู้ส่งออกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญของโลกต่อไป (สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร, 2563) ดังนั้นเพื่อให้สินค้าไม้ดอกไม้ประดับของไทยสามารถขยายตลาดไปยังผู้บริโภคต่างประเทศมากขึ้น รวมถึงการนำเข้าไม้ดอกไม้ประดับสายพันธุ์ใหม่ ๆ เพื่อการปรับปรุงพันธุ์เป็นไปอย่างถูกต้อง การคำนึงถึงมาตรฐานและความปลอดภัย เช่น ข้อกำหนดด้านมาตรการสุขอนามันและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures) ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificate) จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงเล็งเห็นว่าการเปิดอบรมในหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกไม้ดอก ไม้ประดับ มีแนวโน้มว่าจะได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับภายในประเทศที่อยากขยายตลาด หรือผู้สนใจที่อยากทำอาชีพนำเข้าและส่งออกพืชเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม เพื่อให้สามารถนำเข้าและส่งออกพืชได้อย่างถูกต้อง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้เข้าเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การออกหนังสือรับรองการนำเข้า - ส่งออกไม้ดอก ไม้ประดับ
2 เพื่อให้ผู้เข้าเรียนความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียด ขั้นตอนการขอใบ Phytosanitary Certificate
3 เพื่อสร้างรายได้จากการบริการวิชาการให้แก่ส่วนงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การออกหนังสือรับรองการนำเข้า - ส่งออกไม้ดอก ไม้ประดับ
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัย (กำไรสุทธิ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15296 บาท 15296
KPI 2 : ร้อยละความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียด ขั้นตอนการขอใบ Phytosanitary Certificate ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
34704 บาท 34704
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 6 : ร้อยละความรู้ ความเข้าใจหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การออกหนังสือรับรองการนำเข้า - ส่งออกไม้ดอก ไม้ประดับที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การออกหนังสือรับรองการนำเข้า - ส่งออกไม้ดอก ไม้ประดับ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า - ส่งออก ไม้ดอก ไม้ประดับ”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน จำนวน 25 คน ๆ ละ 4 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าพาหนะสำหรับวิทยากร (ไป-กลับ เชียงราย-แพร่) จำนวน 476 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 1,904 บาท
3.2 ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 2 คืน ๆ ละ 1 ห้อง ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,404.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,404.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
2. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกา เป็นต้น เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 4,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 34704.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
วิชา 11203375 การจัดการธุรกิจการเกษตรเกษตรป่าไม้ และ 11203376 ตลาดเกษตรในยุคดิจิทัล หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเกษตรป่าไม้
ช่วงเวลา : 24/02/2568 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล