23114 : โครงการการพัฒนาผู้ประกอบการปศุสัตว์อินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/2/2568 18:09:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เกษตรกร และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรศิลป์  มาลัยทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-4.การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68-4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68-4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68-4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์เป็นรูปแบบใหม่ของการเลี้ยงสัตว์เพื่อผลิตเป็นอาหารของคนในยุคปัจจุบัน เป็นระบบการผลิตที่ต้องการการเกื้อหนุนกันระหว่างการเลี้ยงสัตว์ การใช้ที่ดิน และการเพาะปลูกพืชอาหารสัตว์อย่างเหมาะสม โดยต้องหลีกเลี่ยงการใช้ยาและสารเคมีระหว่างการเลี้ยง ส่งเสริมให้สัตว์มีสุขภาพดีโดยการป้องกันโรคด้วยการจัดการฟาร์มที่ดี ดูแลสัตว์ให้เกิดความเครียดน้อยที่สุด มีการจัดสรรพื้นที่และอาหารให้เป็นไปตามความต้องการทางสรีระวิทยาและพฤติกรรมของสัตว์ ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้จากปศุสัตว์อินทรีย์จะเป็นอาหารที่มีมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด เป็นสินค้าระดับ Premium food สำหรับผู้บริโภคในตลาดบน และผู้ที่ห่วงใยสุขภาพ ส่งผลให้สินค้าปศุสัตว์อินทรีย์มีมูลค่าต่อหน่วยสูงกว่าผลิตภัณฑ์จากการเลี้ยงสัตว์แบบ การเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์เป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่น่าสนใจ และมีความเป็นไปได้สำหรับการเลี้ยงในสภาพเกษตรกร เนื่องจากไก่ไข่เลี้ยงง่าย ไม่ต้องการความเอาใจใส่ดูแลมากนัก ใช้แรงงานน้อย และใช้เวลาการเลี้ยงแต่ละวันไม่นาน ทำให้เกษตรกรสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้ การพัฒนาและส่งเสริมองค์ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์ให้กับเกษตรกร หรือผู้ที่สนใจจะช่วยให้ผู้เลี้ยงสามารถประกอบกิจการการเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์เป็นอาชีพได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์
2 เพื่อเพิ่มแนวความคิดและแนวทางการประกอบอาชีพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษา เกษตรกร และผู้ที่สนใจมีความรู้และทักษะความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษา เกษตรกร และผู้ที่สนใจมีความรู้และทักษะความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
อบรมและถ่ายทอดทักษะการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สินีนาฏ  สองศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศรายุทธ  ตรีรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ครบตามจำนวนเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดวันและเวลาในการอบรมให้เหมาะสม ไม่ให้อยู่ในช่วงเวลาเพาะปลูก
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การเรียนการสอน ให้นักศึกษาที่ผ่านการเรียนการสอนในรายวิชา ผส210 เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก และ ผส310 การจัดการฟาร์มไก่เชิงการค้า เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการสาธิตการจัดการทำวัคซีน และการจัดสภาพแวดล้อมภายในพื้นที่เลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ใช้ข้อมูลผลการวิจัยต่อไปนี้ เป็นเนื้อหาในการถ่ายทอดองค์ความรู้ 1. การศึกษารูปแบบการเลี้ยง เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตไก่ไข่ : กรณีศึกษาฟาร์มไก่ไข่อินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่.ของ เรื่อง ธีราพัฒน์ จักรเงิน, สรียา ทรัพย์สิริ, กรรณิการ์ มอญแก้ว, วรศิลป์ มาลัยทอง และวิริยา แซ่หลี ใน รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ ครั้งที่ 14. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ปี 2564 หน้า 358-366. 2. ผลของการขึ้นรูปอาหารสัตว์อินทรีย์อัดเม็ดด้วยเจล
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล