23113 : โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัย "การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเห็ดนาเมโกะ โดยการพัฒนาเป็นสารสกัดสาหรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิว" แก่ผู้ประกอบการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/2/2568 15:19:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5  คน
รายละเอียด  วิสาหกิจชุมชนผู้เพาะเลี้ยงเห็ด จังหวัดแพร่ จำนวน 5 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส  เชิงปัญญา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.2 สร้างผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มีการบูรณาการศาสตร์ โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.2.3 จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 68 MJU 2.2.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.2 สร้างผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มีการบูรณาการศาสตร์ โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68-2.2.3 จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 68-2.2.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีแผนแม่บทโครงการบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) จำนวน 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนายกระดับขีดความรู้ ความสามารถด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ ให้แก่ท้องถิ่น ชุมชน สังคม สู่ความยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการองค์ความรู้ ฐานเรียนรู้และสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัยให้เกิดรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบูรณาการองค์ความรู้ ผลการวิจัย ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยไปต่อยอดสู่การสร้างนวัตกรรม เทคโนโลยี และการสร้างผู้ประกอบการ เพื่อตอบสนองนโยบายของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเผยแพร่องค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีไปสู่ความเป็นนานาชาติ และ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ตระหนักถึงบทบาทสำคัญในการพัฒนาขีดความรู้และความสามารถในด้านการเกษตร อาหาร และสุขภาพ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน และสังคมอย่างยั่งยืน จึงสนับสนุนให้มีโครงการสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ของมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นการนำองค์ความรู้ ผลการวิจัยที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยไปต่อยอดในการสร้างผู้ประกอบการจากงานวิจัย ดังนั้น เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ที่ 3 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัย "การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเห็ดนาเมโกะ โดยการพัฒนาเป็นสารสกัดสาหรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิว" แก่ผู้ประกอบการ จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย โครงการ "การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเห็ดนาเมโกะ โดยการพัฒนาเป็นสารสกัดสาหรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิว" ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากงานวิจัยมูลฐาน ประจำปีงบประมาณ 2566 แก่ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงเห็ดในจังหวัดแพร่ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากเห็ด เพิ่มโอกาสทางการตลาดและความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมเกษตรและสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่น และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัย "การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเห็ดนาเมโกะ โดยการพัฒนาเป็นสารสกัดสาหรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิว" แก่ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงเห็ด จังหวัดแพร่
2. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน และส่งเสริมความร่วมมือกับชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการเตรียมสารสกัดจากเห็ดและการแปรรูปเป็นเซรั่มและสเปรย์น้ำแร่บำรุงผิว
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 คน 5
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 4 : จำนวนองค์ความรู้ที่นำไปถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการเตรียมสารสกัดจากเห็ดและการแปรรูปเป็นเซรั่มและสเปรย์น้ำแร่บำรุงผิว
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมสารสกัดจากเห็ดและการแปรรูปเป็นเซรั่มและสเปรย์น้ำแร่บำรุงผิว ติดตามให้คำแนะนำ และสรุปผลโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการองค์ความรู้จากงานวิจัยกับการเรียนการสอนหัวข้อ อาณาจักรฟังไจ ในรายวิชา 11200300 ชีววิทยาทั่วไป
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล