23068 : โครงการเสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/2/2568 14:41:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เกษตรกร บุคคลทั่วไป ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ ผู้ประกอบการ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และเครือข่าย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ที่จัดสรรให้สาขาวิชาการจัดการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2568 42,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยะพิศ  ขอนแก่น
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68-2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68-2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2562 ในระดับมหาบัณฑิตถือเป็นแห่งเดียวในภูมิภาคเหนือ สนับสนุนมหาวิทยาลัยแม่โจ้เชิงนโยบายในประเด็นมหาวิทยาลัยสีเขียว มหาวิทยาลัยออร์แกนิค มหาวิทยาลัยนิเวศ และจะมีส่วนที่สําคัญยิ่งที่จะช่วยให้เกิดการผลิตที่หลากหลาย มีบทบาทความสําคัญของทรัพยากรท้องถิ่น โดยการจัดการ ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมตามสภาพกายภาพของพื้นที่ สภาพสังคมและวัฒนธรรม ก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า จัดการ ดูแล รักษา และอนุรักษ์ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตให้มีความเสถียรและยั่งยืน อันเป็นผลให้มีความมั่งคงและพึ่งตนเองได้ การดำเนินกิจกรรมของสาขาเน้นการมีส่วนร่วมของนักศึกษา การฝึกปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้หลักการ Active Learning ในกระบวนการเรียนการสอน อีกทั้งการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทั้งในด้านการพัฒนาการใช้ชีวิต การพัฒนาทางด้านนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีวิธีการจัดการป่าไม้ และสอดคล้องผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรฯ ได้แก่ สามารถอธิบายหรือนำเสนอศาสตร์ทางด้านการจัดการป่าไม้อย่างลึกซึ้ง มีทักษะกระบวนการคิด การตัดสินใจ วิเคราะห์ และถ่ายทอด ต่อสังคมในการพัฒนาด้านการจัดการป่าไม้ สามารถออกแบบการวิจัยทั้งมิติทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมได้ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการพัฒนาการเกษตรและป่าไม้ระดับชาติและ/หรือนานาชาติได้ มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้ในระดับดี มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้ในระดับดี สาขาวิขาการจัดการป่าไม้ โครงการจัดตั้งวิทยาลัยการป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดกิจกรรมภายใต้ โครงการเสริมศักยภาพด้านวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งดำเนินงานตลอดช่วงปีงบประมาณ 2568 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ทั้งทางด้านภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รวมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ประสบการณ์การใช้ชีวิตในต่างประเทศ ประสบการณ์การเรียนการสอน เปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท อันจะสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและอาจารย์ในสาขาวิชา ความสำคัญของโครงการ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม: การส่งเสริมการเรียนรู้ การพัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก: โครงการนี้สนับสนุนมหาวิทยาลัยในการสร้างเครือข่ายระหว่างนักศึกษา อาจารย์ มหาวิทยาลัย เกษตรกร ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ ผู้ประกอบการ หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ การตอบสนองต่อเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture): ด้วยการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางการป่าไม้ และการเกษตร ช่วยให้บรรลุเป้าหมายด้านสร้างสุขภาวะที่ดี ยั่งยืน รักษ์โรค ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA และด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอน และเปิดโลกการเรียนรู้นอกสถานที่
2. เพื่อสร้างความร่วมมือ เครือข่ายการทำงานด้านป่าไม้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศักยภาพการเรียนการสอนและความร่วมมือกับเครือข่ายการทำงานด้านป่าไม้
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศักยภาพการเรียนการสอนและความร่วมมือกับเครือข่ายการทำงานด้านป่าไม้
ชื่อกิจกรรม :
1) การถอดบทเรียนการเรียนรู้ด้านการจัดการป่าไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 5 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 คน ๆ ละ 4 มื้อ ๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,200 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าพาหนะ จำนวน 650 กม.ๆ ละ 4 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,200 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 2 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11400.00
ชื่อกิจกรรม :
2) การเสริมศักยภาพการพัฒนาด้านพัฒนาการเรียนการสอน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าลงทะเบียนตีพิมพ์บทความ จำนวน 3 เรื่องๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 3,200 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,400.00 บาท 0.00 บาท 7,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22400.00
ชื่อกิจกรรม :
3) สัมมนาวิชาการด้านการจัดการป่าไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,800 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,200.00 บาท 0.00 บาท 5,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 21219501 การประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการจัดการป่าไม้ รายวิชา 21219642 เทคโนโลยีการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ช่วงเวลา : 10/02/2568 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล