23046 : โครงการการสร้างวัฒนธรรมทางด้านภาษาด้วยดนตรี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/1/2568 9:11:45
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษาทุกระดับชั้นปีของสาขาวิชาต่างๆ และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ทิพารัตน์  สหตรงจิตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.1 ความสำเร็จของแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 68-2.4.2 จำนวนรายวิชาในหลักสูตรการเรียนการสอนที่บูรณาการเข้ากับศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมเกษตรและภูมิปัญญาท้องถิ่น
กลยุทธ์ 68-2.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมเกษตร และภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้มีการบูรณาการกับ การเรียนการสอนในรายวิชาของหลักสูตร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

วัฒนธรรมเป็นส่างสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่างๆได้พัฒนาและสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปะการแสดง ฯลฯ เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกและกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความตระหนัก มีความตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟูเผยแพร่ทางด้านภาษาผ่านเสียงดนตรี หากมรดกทางวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างหลากหลายกันพื้นที่ ไม่ได้รับการสืบสานและอนุรักษ์ฟื้นฟูรวมถึงการพัฒนาต่อยอดให้เกิดคุณค่าทางด้านต่างๆ การเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปัญาท้องถิ่น ให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมและสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอดประมวลผล ตลอดจนสนับสนุนให้นักศึกษามีความเข้าใจความเป็นวัฒนธรรมที่มีมาช้านานบนพื้นฐานของ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้นักศึกษา เกิดความตระหนักและเข้ามาร่วมในการอนุรักษ์และสืบสานภาษาท้องถิ่น และคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรม
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสำคัญรู้จักวิถีการใช้ภาษาท้องถิ่น รู้ถึงคุณค่าของดนตรีในท้องถิ่น ความเป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีการบรรเลงดนตรีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจและจิตสำนึกในการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นสืบไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การสร้างวัฒนธรรมทางด้านภาษาด้วยดนตรี
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การสร้างวัฒนธรรมทางด้านภาษาด้วยดนตรี
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างวัฒนธรรมทางด้านภาษาด้วยดนตรี

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ทิพารัตน์  สหตรงจิตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักขณา  พันธุ์แสนศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วันวสา  วิโรจนารมย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศศิมินตรา  บุญรักษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธนวัฒน์  ปินตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นนักศึกษาได้รับความรู้และได้รับการส่งเสริมอนุรักษ์สู่คนรุ่นต่อไป รวมถึงมีจิตสำนึก เกิดความตระหนักพร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการสืบสานภาษาผ่านดนตรี รวมถึงได้รับคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมสืบไป การบูรณาการกับการเรียนการสอน/วิจัย/บริการวิชาการ/ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยและส่วนงาน : โครงการได้ทำการบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และรายวิชาภาษาไทยเพื่อนำเสนอ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล