22986 : โครงการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มเพื่อส่งเสริมสุขอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีของนักศึกษา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/1/2568 15:26:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  15  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง สุรัลชนา  มะโนเนือง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.4 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.4.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.4 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 68-1.1.4.1 ผลักดันการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

น้ำดื่มที่สะอาดและได้มาตรฐานเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัย การตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มช่วยสร้างความมั่นใจว่าทุกคนจะได้รับน้ำดื่มที่ปลอดภัย ลดความเสี่ยงจากโรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำ และส่งเสริมสุขภาพในระยะยาว การมีส่วนร่วมในโครงการนี้ นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่ม เช่น การใช้อุปกรณ์วิเคราะห์น้ำและการอ่านผลวิเคราะห์ ส่งเสริมการตระหนักรู้เกี่ยวกับความสำคัญของน้ำดื่มที่ปลอดภัย บุคลากรและชุมชนรอบมหาวิทยาลัย ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพน้ำดื่มและคำแนะนำในการปรับปรุงคุณภาพน้ำ สร้างความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม เช่น การให้ข้อมูลแหล่งน้ำหรือปัญหาที่พบ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการนี้สนับสนุนเป้าหมายยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) มุ่งเน้นการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่มและการจัดการทรัพยากรน้ำ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน (Sustainable Development Goals - SDGs) สอดคล้องกับเป้าหมาย SDG 3 (สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี) และ SDG 6 (น้ำสะอาดและสุขาภิบาล) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์ความรู้ เพิ่มศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากรในด้านการจัดการคุณภาพน้ำและการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การส่งเสริมความร่วมมือและการบริการวิชาการ ใช้โครงการนี้เป็นฐานในการพัฒนาความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนและองค์กรท้องถิ่น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ โดยใช้วิธีการตรวจสอบที่ทันสมัย เพื่อให้มั่นใจว่าน้ำดื่มมีความสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพของนักศึกษาและบุคลากร
2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักศึกษาและบุคลากรในการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ด้านการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่ม พร้อมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสุขอนามัยผ่านกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพน้ำดื่มปลอดภัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มเพื่อส่งเสริมสุขอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีของนักศึกษา
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จุดบริการน้ำดื่มภายในมหาวิทยาลัยที่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 จุด 20
KPI 4 : ผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 คน 15
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มเพื่อส่งเสริมสุขอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีของนักศึกษา
ชื่อกิจกรรม :
การตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มเพื่อส่งเสริมสุขอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีของนักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วันวสา  วิโรจนารมย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ถมรัตน์  ชัชวาลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเหมสุดา  แก้วกอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
จัดให้นักศึกษาเรียนรู้การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำดื่มผ่านกิจกรรมภาคปฏิบัติ ในรายวิชา 11203363 การแปรรูปธัญพืชในระบบเกษตรป่าไม้และการนำไปใช้ นอกจากนี้ ส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยให้นักศึกษาออกแบบหรือวิเคราะห์ระบบการจัดการน้ำในมหาวิทยาลัย และรายงานผลต่อส่วนงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการจัดการคุณภาพน้ำให้กับชุมชนรอบมหาวิทยาลัย สนับสนุนเป้าหมาย SDG 3 (สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี) และ SDG 6 (น้ำสะอาดและสุขาภิบาล) การจัดการสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในด้านการเป็นมหาวิทยาลั
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล