22813 : โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 นอกห้องเรียน เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตามหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learning) ประจำปี 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/12/2567 19:45:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษาและคณาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้- ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 2568 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

Lifelong learning หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นคำที่เราได้ยินกันบ่อย ๆ ในยุคปัจจุบันเนื่องจากเราอยู่ในยุคที่ทุกอย่างรอบตัวนั้นถูกเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแบบรวดเร็วอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ความรู้เดิมที่เราเคยมีหรือสิ่งที่เราเคยทำมา อาจจะไม่สามารถนำพาเราไปข้างหน้าได้อีกต่อไป คนที่จะสามารถก้าวไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ จึงต้องเป็นคนที่มีนิสัยของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) - Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) สาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร มีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาในแต่ละชั้นปีของสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาให้แก่นักศึกษาได้อย่างถูกต้อง ประกอบกับปัจจุบันรัฐบาลได้สนับสนุนให้ภาคการศึกษาพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู่การพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ 21 และสามารถผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ ดังนั้นนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จึงมุ่งมั่นส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ตามหลักการการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นอกห้องเรียนเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะอาชีพด้วยตนเอง ผลที่ได้รับนอกจากประสบการณ์ ทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพด้านต่างๆ แล้วยังมีผลต่อตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร อีกทั้งยังสามารถบูรณาการกับการเรียนการสอนในหลายๆ วิชาของสาขาวิชานวัตกรรมการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 5 ด้าน ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นำไปสู่ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เพื่อพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ 21 อันประกอบด้วย ICT literacy, scientific literacy, media literacy, health literacy, life skill, career skills
เพื่อให้นักศึกษาสาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้ประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน เช่น รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง
KPI 1 : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เรื่อง 2
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายตลอดทั้งโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 บาท 5000
KPI 4 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : การศึกษาดูงานและนำเสนองานนอกห้องเรียนเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะอาชีพทางการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 11/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกาเพอร์มาแนน เทปใส สมุดบันทึก ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณดำเนินการน้อยเกินไป
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
สาขาวิชาหางบประมาณโครงการบริการวิชาการจากภายนอกนำมาบูรณาการร่วม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
บูรณาการกับรายวิชา 11302191 การปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1, พช351 โรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ, 11302211 คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, 11302424 นวัตกรรมทางการประมงที่นำสมัย, 11302476 นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่าทรัพยากรประมงเพื่อเศรษฐกิจ BCG รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 31/12/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล