22812 : โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเชิงรุก ปีการศึกษา 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/12/2567 18:18:14
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
11/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน, นักศึกษา ที่สนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่2) 2568 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.1.2 พัฒนาระบบการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการรับนักศึกษาเชิงรุก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.1.2 พัฒนาระบบการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการรับนักศึกษาเชิงรุก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นหลักสูตรที่เป็นเอกลักษณ์ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ สิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย บรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการพัฒนา โอกาสในการทำงานหลังสำเร็จการศึกษา และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชุมชนมหาวิทยาลัย และจากผลการสำรวจข้อมูลของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในรอบ TCAS ที่ผ่านมา พบว่านักเรียนและนักศึกษา ที่เลือกเข้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคใต้ รองลงมา คือ ภาคเหนือ กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคกลาง ตามลำดับ โดยข้อมูลแบบสอบถาม พบว่า ช่องทางที่รู้จักมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มากที่สุดมาจากอาจารย์แนะแนว รองลงมาเป็นช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ เช่น เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย, วิดีโอ, สิ่งพิมพ์, การประชาสัมพันธ์ผ่านโรงเรียน, เพจ Facebook, Instagram, TikTok ของมหาวิทยาลัย และเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ ตามลำดับ โดยมีเหตุผลที่เลือกสมัครเรียนที่ ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สูงสุดเป็นอันดับ 1 คือ ชื่อเสียงของหลักสูตร/สาขาวิชา รองลงมา คือ ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย และเป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใกล้บ้าน ดังนั้นเพื่อดึงดูดนักเรียน นักศึกษาที่มีคุณภาพและมีความสนใจในสาขาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอน เป็นการประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในเชิงรุกประจำปีการศึกษา 2568-2569 และเพิ่มจำนวนนักศึกษาใหม่ให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้ตรงตามแผนที่กำหนด คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รวมถึงคณาจารย์ในกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป เห็นควรให้มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดยให้แต่ละหลักสูตรดำเนินกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ร่วมกับงานรับเข้านักศึกษา ในลักษณะบูรณาการกิจกรรมประชาสัมพันธ์กับกิจกรรมการบริการวิชาการ กับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และวิทยาลัยชุมชน ทั้งในและนอกพื้นที่ จังหวัดชุมพร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งในเชิงรุกประจำปี 2568-2569
เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาใหม่หลักสูตรนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งให้เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้ตรงตามแผนที่กำหนด
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2568 เป็นไปตามแผน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายตลอดทั้งโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 บาท 5000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2568 เป็นไปตามแผน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : ประชาสัมพันธ์หลักสูตรนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ถ่านอัลคาไลน์ สมุดบันทึก ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
บูรณาOBE3 / OBE5 ของรายวิชา 11302191 การปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1, พช351 โรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ, 11302211 คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, 11302424 นวัตกรรมทางการประมงที่นำสมัย, 11302476 นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่าทรัพยากรประมงเพื่อเศรษฐกิจ BCG รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล