22676 : โครงการการจัดการประชุมวิชาการระดับนำนำชาติ 5th International Agroforestry Congress “Agroforestry for Sustainable Development (AG4DEV)”มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/11/2567 13:31:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  28  คน
รายละเอียด  อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 47,920.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วรวุฒิ  งามพิบูลเวท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68-1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ต้องมีการพัฒนาหลักสูตร การทำวิจัยเป็นกระบวนการสำคัญในการจัดการองค์ความรู้ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลายๆ ด้าน ทั้งการพัฒนาประเทศ และการพัฒนาหน่วยงานต่างๆ เมื่อการทำวิจัยเป็นตัวชี้วัดสำคัญในการพัฒนาประเทศ และนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมที่จะเป็นประโยชน์ต่อไป การทำวิจัยจึงต้องมีการเผยแพร่ผลงานเพื่อขยายผลไปสู่การปฏิบัติในวงกว้าง การจัดให้มีเวทีการประชุมงานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยระดับนานาชาติ เป็นกิจกรรมหนึ่งซึ่งทำให้เกิดการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ผลงานวิจัย ประสบการณ์ รวมถึงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ และเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ทั้งในหมู่ผู้ทำงานวิจัย และผู้สนใจทั่วไป คณะมหาวิทยาลัยแม่โจ้แพร่-เฉลิมพระเกียรติและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยเฉพาะผลงานวิจัยระดับนานาชาติ ตามกล่าวแล้วนั้น สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ คณะมหาวิทยาลัยแม่โจ้แพร่-เฉลิมพระเกียรติและวิทยาลัยนานาชาติ จึงร่วมกับ The Southeast Asian Network for Agroforestry Education (SEANAFE ) และ ASEAN Agricultural University Network (AAUN) ซึ่งทั้งสองหน่วยงานนี้มีการดำเนินกิจกรรมจัดงานประชุมสัมมนางานวิจัยระดับนานาชาติ โดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่เป็นเจ้าภาพในประเทศที่จัดงานในแต่ละปี การจัดการประชุมเวทีวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นักวิจัย และนิสิต ได้นำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาเกษตรป่าไม้ (วนเกษตร) ป่าไม้ และเกษตร การวิจัยด้านการจัดการเกษตรป่าไม้ ซึ่งเป็นรูปแบบของการศึกษาวิธีการทำการเกษตร ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน อีกทั้งเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างนิสิต นักศึกษา คณาจารย์ และนักวิจัย ทั้งยังเพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานงานวิจัยได้อีกเวทีหนึ่ง การร่วมจัดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งนี้จึงมีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยของคณาจารย์ บุคลากร นักวิจัย และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
2 เพื่อเปิดโอกาสให้มีการเสวนา แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เกี่ยวกับผลการวิจัยระดับนานาชาติ ระหว่างนิสิต คณาจารย์ และนักวิจัย
3 เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานงานวิจัยระดับนานาชาติ
4 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยกับสถาบันการศึกษาระดับนานาชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การประชุมวิชาการระดับนำนำชาติ 5th International Agroforestry Congress “Agroforestry for Sustainable Development (AG4DEV)”
KPI 1 : จำนวนผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
6 ผลงาน 6
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
28 คน 28
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การประชุมวิชาการระดับนำนำชาติ 5th International Agroforestry Congress “Agroforestry for Sustainable Development (AG4DEV)”
ชื่อกิจกรรม :
การประชุมวิชาการระดับนำนำชาติ The 5th International Agroforestry Congress “Agroforestry for Sustainable Development (AG4DEV)”มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย  อาษานอก (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา  พงษ์การัณยภาส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ  กันบุตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วรรณอุบล  สิงห์อยู่เจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อโนชา  สุภาวกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วันวสา  วิโรจนารมย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิกานต์  คู่วัฒนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.คนิติน  สมานมิตร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อัญชลี  รัตนธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.ศตพล  กัลยา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวรากร  พลเสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาคภูมิ  บุญมาภิ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ว่าที่ ร.ต.สุรศักดิ์  ชัยวิเศษ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าที่พัก จำนวน 15 ห้องๆ ละ 4 คืนๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
1.2 ค่าพาหนะรถยนต์ เป็นเงิน 4,000 บาท
1.3 ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงานขับรถ จำนวน 1 คน ๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
1.4 ค่าพาหนะ (รถยนต์ส่วนตัว) จำนวน 6 คัน ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
1.5 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 28 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 6,720 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
47,920.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 47,920.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 47920.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล