22517 : โครงการการเพิ่มศักยภาพทางวิชาการและเพิ่มทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/11/2567 18:21:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
04/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  86  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้ชั้นปีที่ 3 หลักสูตร 4 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2568 20,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วรวุฒิ  งามพิบูลเวท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68-2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68-2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ เป็นสาขาที่เปิดการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 เป็นหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนในลักษณะสหสาขาวิชาทางด้านการเกษตรและป่าไม้ ครอบคลุม ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรและป่าไม้ รวมทั้งการวางรากฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม การเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติอย่างเท่าเทียม ตลอดจนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในตลาดแรงงาน วิชาเรียนและองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตรและป่าไม้แบบแนวคิดใหม่ กล่าวคือ มุ่งเน้นให้บัณฑิตทุกคนที่จบจากหลักสูตรนี้ มีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์เกษตรป่าไม้จากทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ สามารถนำความรู้และทักษะดังกล่าวไปพัฒนาเป็นเทคโนโลยีการเกษตรและป่าไม้ที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยสาขาวิชาเกษตรป่าไม้มีพันธกิจมุ่งพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้กำหนดเป้าหมาย เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางด้านเกษตรป่าไม้ (วนเกษตร) ออกสู่สังคม ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะเป็นผู้ที่ทักษะการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong learning) และสามารถปฎิบัติบัติงานได้ทุกภาคส่วน อันจะเป็นการผลิตบัณฑิต เพื่อตอบสนองความต้องการและทันต่อการเปลี่ยของตลาดแรงงาน ทั้งนี้ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) ถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการนำความรู้ ประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน และช่องทางในการทำงานให้นักศึกษาปัจจุบัน ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาหลักสูตรเกษตรป่าไม้และสนับสนุนนักศึกษาในด้านต่างๆ ซึ่งการเรียนรู้และประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักรู้ในตนเองและได้รับข้อมูลอย่างหลากหลาย นำมาประยุกต์ใช้ในการปรับตัวกับบุคคล สถานที่และสถานการณ์ต่างๆ อันจะนำมาซึ่งความสุขในการดำรงตนในสังคม และมีความพร้อมในการประกอบอาชีพได้ประสบความสำเร็จในอนาคต และสาขาวิชาเกษตรป่าไม้การนำผลสะท้อน (Feedback) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) มี 3 หน่วยงาน คือ 1) ส่วนอุทยานแห่งชาติ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) 2) หน่วยจัดการต้นน้ำน้ำงาว ส่วนจัดการต้นน้ำ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) (ผู้บริหารโรงเรียนเดินป่า) 3) งานพิทักษ์ป่า ปฎิบัติงานประจำสำนักงานสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามที่ 1 ภาคกลาง มาใช้ในการออกแบบหลักสูตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเตรียมความพร้อมของนักศึกษาด้านวิชาการทางเกษตรป่าไม้และการพัฒนาอาชีพพร้อมเสริมทักษะและประสบการณ์ให้พร้อมที่จะเข้าสู่ระบบการทำงาน
2 เพื่อสร้างความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพื่อประโยชน์ทั้งในด้านประสบการณ์ทำงาน ด้านวิชาการ เทคโนโลยี ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และวิชาชีพแก่นักศึกษา
3 เพิ่มเติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการ วิชาชีพและการพัฒนาตนเองแก่นักศึกษา
4 เพื่อเชื่อมสัมพันธ์ของคณาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
5 เพื่อศึกษาข้อมูลและผลสะท้อน (Feedback) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสาขาวิชาเกษตรป่าไม้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
86 คน 86
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ระดับ 4
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้
ชื่อกิจกรรม :
การเพิ่มศักยภาพทางวิชาการและเพิ่มทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย  อาษานอก (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา  พงษ์การัณยภาส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวรากร  พลเสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาคภูมิ  บุญมาภิ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอภิสิทธิ์  รัตนปภานันท์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ว่าที่ ร.ต.สุรศักดิ์  ชัยวิเศษ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 วัน ๆ ละ 86 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 8,600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 วัน ๆ ละ 86 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
12,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล