22360 : โครงการฝึกประสบการณ์นักเรียนจากหน่วยงานภายนอกด้านคลินิกสัตว์เล็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางณัฐธนะนันท์ เอี่ยมตะกูล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/10/2567 17:54:47
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/10/2567  ถึง  31/10/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  3  คน
รายละเอียด  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกงบประมาณในการดำเนินงานโครงการ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. ทิพย์ภาภรณ์  อุปโย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. วศิน  เจริญตัณธนกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวแพทยศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.1.1 พัฒนาและปรับปรุงระบบการรับเข้านักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ อัตลักษณ์และภารกิจเฉพาะของส่วนงาน (Identity
เป้าประสงค์ เพื่อสาธิต ให้ความรู้ และสร้างแรงบันดาลใจแก่นักเรียนจากหน่วยงานภายนอกในการทำงานด้านสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์ เพื่อการพัฒนาคณะฯและเตรียมความพร้อมในการรับนักศึกษา
ตัวชี้วัด วส66-13. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ วางแผนเตรียมแผนประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยมีเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสนใจงานด้านสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในการเรียนระดับอุดมศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสนใจด้านสัตว์เลี้ยง ให้ความสนใจในการศึกษาต่อคณะสัตวแพทยศาสตร์เป็นจำนวนมาก เนื่องจากปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงมากขึ้น โดยสัตว์เลี้ยงที่นิยมเลี้ยงได้แก่ สุนัขและแมว ทำให้ธุรกิจเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงขยายตัวมากขึ้น มีกิจการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงมากขึ้น เช่น โรงพยาบาลสัตว์ คลินิกสัตว์เล็ก อาบน้ำตัดขน ร้านขายอาหารสัตว์ โรงแรมสัตว์ และฟาร์มเพาะพันธุ์สัตว์ ฯลฯ และมีธุรกิจแนวใหม่ที่ผสมผสานเกี่ยวกับเทคโนโลยีและดิจิทัลเกิดขึ้นมากมาย เช่น บริการอาบน้ำตัดแต่งขนเคลื่อนที่ การผลิตเครื่องมือ อุปกรณ์ แอปพลิเคชันต่างๆ เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงด้วยระบบดิจิทัล เป็นต้น การดูแลและการรักษาสัตว์ จึงเป็นกระบวนการที่สำคัญในการเลี้ยงสัตว์เพื่อให้สัตว์ที่เปรียบเสมือนสมาชิกในครอบครัวได้มีอายุยืนยาว มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ดังนั้นนักเรียนที่อยากเข้ามาศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จึงควรเข้ามาเรียนรู้ ฝึกประสบการณ์เพื่อให้เห็นลักษณะการทำงานในสถานที่จริงเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกเรียนในคณะและสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการตัดสินใจในการประกอบอาชีพในอนาคต ในการนี้ ทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการให้โอกาสแก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้เข้ามาฝึกประสบการณ์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเข้าศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์ และสาขาเทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์ จึงได้ดำเนินการจัดโครงการดังกล่าวให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสนใจ และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคณะสัตวแพทยศาสตร์ ในการเตรียมตัวรับนักศึกษาและการเตรียมจัดการเรียนการสอนทางคลินิกแก่นักศึกษาในปีการศึกษา 2568 ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษาที่สนใจได้รับความรู้และประสบการณ์ทางด้านวิชาชีพสัตวแพทย์ รวมถึงเทคนิคการสัตวแพทย์ และการพยาบาลสัตว์ 2.เพื่อเตรียมความพร้อมแก่บุคลากรในการเตรียมการสอนและการดูแลนักเรียนนักศึกษาในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการฝึกประสบการณ์นักเรียนจากหน่วยงานภายนอกด้านคลินิกสัตว์เล็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คน 3
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความรู้ทางด้านสัตวแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการฝึกประสบการณ์นักเรียนจากหน่วยงานภายนอกด้านคลินิกสัตว์เล็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การเรียรรู้เรื่อง การประเมินสุขภาพและการตรวจรักษาเบื้องต้น สำหรับสัตว์สุนัขและแมว ทางด้านสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/10/2567 - 18/10/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.ทิพย์ภาภรณ์  อุปโย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ นายสัตวแพทย์ภากร  ลิ้มเล็งเลิศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิงพิชญา  แสนอุบล (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.บัญชา  พงศ์พิศาลธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิตยา  ใจกันทา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางณัฐธนะนันท์  เอี่ยมตะกูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กรประภา  ปัญญาวีร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นงค์รัก  คนดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกงบประมาณในการดำเนินงานโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การเรียนรู้เรื่องการใช้เครื่องมือทางห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินสุขภาพของสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น ทางด้านเทคนิคการสัตวแพทย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/10/2567 - 18/10/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.ทิพย์ภาภรณ์  อุปโย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ นายสัตวแพทย์ภากร  ลิ้มเล็งเลิศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ สัตวแพทย์หญิงพิชญา  แสนอุบล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกงบประมาณในการดำเนินงานโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. อันตรายจากสัตว์ที่เข้ามารับบริการ เช่น โดนกัด ข่วน เป็นต้น 2. ความเสียหายของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติการ 3. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. เจ้าหน้าที่ควบคุมและดูแล เพื่อไม่ให้นักเรียนหรือศึกษาจับสัตว์เองโดยพลการ 2. เจ้าหน้าที่ควบคุมการใช้เครื่องมือและให้คำแนะนำแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล