22258 : โครงการ อนุรักษ์สืบสานมรดกวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน ประจำปีงบประมาณ 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.เยาวลักษณ์ อภิวัฒนเสวี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/10/2567 16:27:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  105  คน
รายละเอียด  - นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จำนวน 100 คน - อาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร จำนวน 5 คน - ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 2568 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สานิตย์  แป้นเหลือ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ นาตาลี อาร์  ใจเย็น
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.2.2 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ที่สอดคล้องกับ IWA และยุทธศาสตร์สำคัญของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.8.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.8.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียนการสอน และการวิจัย
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.4.2.2 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรให้น่าสนใจและทันสมัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเพณีและวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ดีงาม ซึ่งบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของชุมชนและท้องถิ่นนั้นๆ ที่สังคมได้สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ ได้พัฒนาและสร้างสรรค์ขึ้น และใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินวิถีชีวิต ป้องกันและแก้ไขปัญหา ร่วมทั้งใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นศักยภาพและทุนที่สำคัญยิ่งของชุมชนท้องถิ่นและสังคมไทย ที่ได้แสดงออกในรูปแบบและวิธีการต่างๆ ทั้งในรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา เครื่องมือเครื่องใช้ในการทำมาหากิน ความเชื่อและอื่นๆอีกมาก ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นนั้น มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้นๆ งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ ขึ้นโขนชิงธง อำเภอหลังสวน เป็นประเพณีเก่าแก่ของอำเภอหลังสวน ซึ่งมีมานานกว่า 100 ปี โดยมีความเชื่อว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลงมาสู่เมืองสังกัสสะในชมพูทวีป พุทธศาสนิกชนจึงเดินทางไปรับเสด็จจำนวนมาก ซึ่งการเดินทางที่สะดวกในสมัยนั้นคือทางน้ำ จึงได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์กัน ต่อมาจึงเกิดเป็นประเพณีแห่พระแข่งเรือขึ้น เพื่อสร้างความสามัคคีของคนในชุมชน เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีการแข่งเรือยาวของจังหวัด และเพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบทอดประเพณีแก่เด็กและเยาวชนรุ่นหลัง ประชาชนได้เกิดความซาบซึ้งและตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมไทย ตลอดจนการอนุรักษ์ฟื้นฟูประเพณีอันดีงามของไทยไว้ให้อยู่คู่บ้านเมือง และยังเป็นการปลูกฝังให้รู้รักถิ่นฐานบ้านเกิด ซึ่งเป็นประเพณีที่ควรทำสืบต่อไป ซึ่งปัจจุบันขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมนับเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่ง ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ได้เล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญของการร่วมสืบสานมรดกวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน จึงจัดโครงการ “อนุรักษ์สืบสานมรดกวัฒนธรรมลุ่มน้ำหลังสวน” เพื่อส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น โดยบูรณาการกิจกรรมกับการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สร้างองค์ความรู้นอกห้องเรียน สามารถทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนในท้องถิ่นได้ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการสืบสานมรดกวัฒนธรรมของชุมชนลุ่มน้ำ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ประพฤติปฎิบัติตามวัฒนธรรมไทย รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร สิ่งแวดล้อม อันจะเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทยไว้สืบไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
เพื่อให้นักศึกษา บุคลากรได้เข้าร่วมกิจกรรม ได้เรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมไทย
เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร ได้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
เพื่อบูรณาการกิจกรรมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน
เพื่อยกระดับกิจกรรมนักศึกษาสู่การเผยแพร่วัฒนธรรมระดับนานาชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนา
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
105 คน 105
KPI 3 : จำนวนรางวัลที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รางวัล 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาและบุคลากรได้เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนา
ชื่อกิจกรรม :
1 : ตกแต่งเรือพระบกและขบวนแห่เรือพระบก ร่วมกิจกรรมแห่พระแข่งเรือ ขึ้นโขนชิงธง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/10/2567 - 30/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสานิตย์  แป้นเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 105 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 105 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ดอกไม้ โอเอซิส ถุงขยะ ฯลฯ เป็นเงิน 20,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ไม้ระแนง ตะปู ลวด ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 35000.00
ชื่อกิจกรรม :
เข้าร่วมการแข่งขันเรือยาว 8 ฝีพาย จำนวน 3 สนาม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 04/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสานิตย์  แป้นเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 3 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 6 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาลากจูงเรือ จำนวน 6 เที่ยว ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล