21932 : โครงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้นักศึกษา (โครงการปั้นฝันพยาบาลกับการเป็นผู้ประกอบการ ปีการศึกษา 2567)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.สาวิตรี ทิพนี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/9/2567 13:53:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/09/2567  ถึง  26/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  65  คน
รายละเอียด  1. ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร [Maejo Agro Food Park (MAP)] จำนวน 1 คน 2. วิทยากรจากอุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร จำนวน 2 คน 3. วิทยากรภายนอก จำนวน 1 คน 4. คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 10 คน 5. นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 51 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
กิจกรรมหลัก จัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
แผนงานการเรียนการสอน
งานจัดการศึกษาสาขาพยาบาล
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) -โครงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้นักศึกษา
2567 5,550.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ บุษกร  ยอดทราย
อาจารย์ หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง
น.ส. สาวิตรี  ทิพนี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.4 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.5 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.6 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ67-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.1.5 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 (ม-2.1.9)
กลยุทธ์ พยบ67-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ พยบ67-4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด พยบ67-4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ (ม-4.1.1)
กลยุทธ์ พยบ67-4.1 กำหนดนโยบายให้อาจารย์พยาบาลนำความเชี่ยวชาญไปให้บริการแก่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการเป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด พยบ67-4.1.2 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม (ม-4.1.4)
กลยุทธ์ พยบ67-4.1 กำหนดนโยบายให้อาจารย์พยาบาลนำความเชี่ยวชาญไปให้บริการแก่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการเป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด พยบ67-4.1.3 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ (ม-4.1.5)
กลยุทธ์ พยบ67-4.1 กำหนดนโยบายให้อาจารย์พยาบาลนำความเชี่ยวชาญไปให้บริการแก่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการเป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด พยบ67-4.1.4 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ (ม-4.1.6)
กลยุทธ์ พยบ67-4.1 กำหนดนโยบายให้อาจารย์พยาบาลนำความเชี่ยวชาญไปให้บริการแก่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการเป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ อันส่งผลให้ภาคธุรกิจต้องเผชิญกับสภาพการแข่งขันด้วยรูปแบบธุรกิจใหม่ที่หลากหลายและซับซ้อนขึ้น จึงจำเป็นที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องปรับเปลี่ยน แนวคิดและทักษะในการประกอบธุรกิจใหม่ โดยขับเคลื่อนธุรกิจด้วยความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางธุรกิจ แนวโน้มด้านสุขภาพ ได้รับผลกระทบจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งการเปลี่ยนโครงสร้างประชากรเป็นสังคมผู้สูงอายุประกอบกับสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันด้านสาธารณสุข ทำให้นโยบายด้านสุขภาพ และการลงทุนด้านสุขภาพ อุตสาหกรรมยา และเทคโนโลยีการดูแลสุขภาพเจริญเติบโตมากขึ้น มีผลต่อรูปแบบการดูแลสุขภาพของประชาชน สินค้าด้านสุขภาพจะได้รับความนิยมมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ส่งผลให้บุคลากรสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาชีพการพยาบาลจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมและเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองทั้งด้านความรู้ และทักษะการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการทางสังคมในอนาคตเพิ่มขึ้น พยาบาลผู้ประกอบการหรือพยาบาลเจ้าของธุรกิจ (Nurse entrepreneurship) อาจจะเป็นลักษณะ การดูแลหรือให้การพยาบาลโดยตรง การศึกษา การวิจัย การบริหาร หรือการให้คำปรึกษา โดยใช้ ประสบการณ์ด้านการพยาบาลและการศึกษา เพื่อเริ่มต้นธุรกิจของตนเองในอุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพ ธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพยาบาล อาจรวมถึงการพัฒนาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ การดูแลผู้ป่วยโดยตรง หรือการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพแก่ผู้ป่วย การให้ความรู้หรือการเป็นผู้ฝึกอบรมทักษะทางการพยาบาล แก่วิชาชีพอื่น ๆการเปลี่ยนจากพยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ สิ่งสำคัญคือต้องมีแนวปฏิบัติที่ดีและความสามารถในการถ่ายโอน ความรู้ ทักษะในการเป็นผู้ดูแลหรือผู้ให้การพยาบาลไปสู่การเป็นผู้นำธุรกิจ การจะทำธุรกิจใด ๆ ควรมีจุดเริ่มต้นจากการรู้จักลูกค้าเป้าหมายเป็นเรื่องสำคัญ เพราะจะทำให้เราสามารถออกแบบสินค้าและบริการได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า เลือกช่องทางการจัดจำหน่ายที่สามารถเข้าถึงลูกค้าเป้าหมายได้ดี รวมถึงสามารถตั้งราคาที่ลูกค้าเป้าหมายยินดีที่จะจ่าย โดยการเลือกกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย มีขั้นตอนดังนี้ หากลุ่มลูกค้า: กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมีหลายแบบ ตัวอย่างเช่น กลุ่มตลาดมวลชน (Mass Market) คือ กลุ่มคนส่วนมาก สินค้าที่นิยมเป้าหมายกลุ่มนี้ ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน กลุ่มตลาดเฉพาะ (Niche Market) คือ การเจาะจง กลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการแตกต่างจากกลุ่มคนทั่วไปและมีขนาดตลาดไม่มาก หรืออาจเลือกลูกค้าแบบแบ่งกลุ่มตลาด (Segmented Market) ซึ่งเป็นการแบ่งกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการแตกต่างกันออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยผลิตสินค้าและบริการที่แตกต่างกันตามความต้องการและความสามารถในการซื้อและปริมาณลูกค้า เลือกกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย: โดยเลือกจากความน่าสนใจ ขนาด และการเติบโตของแต่ละกลุ่มพร้อมกับประเมินว่าเราสามารถเข้าถึงลูกค้าแต่ละกลุ่มได้ดีมากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษาพยาบาลได้เข้าใจกระบวนการและสร้างความคุ้นเคยในการนำเสนอแผนธุรกิจแก่แหล่งเงินทุนในอนาคต ผู้จัดจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ และนักศึกษา เพื่อมอบประสบการณ์เสมือนจริงอันเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาที่มีแนวคิดที่จะเป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุขภาพต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง: การรู้จักลูกค้าเป้าหมายธุรกิจสุขภาพ
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุขภาพ และนักศึกษาสามารถนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาสินค้า/ธุรกิจสุขภาพ ได้
KPI 1 : จำนวนแนวคิดพัฒนาสินค้าและบริการด้านสุขภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 สินค้า/บริการ 5
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : นักศึกษาได้นำเสนอกลุ่มลูกค้าเป้าหมายธุรกิจสุขภาพที่สนใจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 4 : นักศึกษาเกิดแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุขภาพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 5 : ร้อยละของนักศึกษาที่นำเสนอกลุ่มลูกค้าเป้าหมายธุรกิจสุขภาพที่สนใจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการกำหนดลูกค้าเป้าหมายธุรกิจสุขภาพที่สนใจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 7 : ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการในภาพรวม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุขภาพ และนักศึกษาสามารถนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาสินค้า/ธุรกิจสุขภาพ ได้
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการปั้นฝันพยาบาลกับการเป็นผู้ประกอบการ ปีการศึกษา 2567

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/09/2567 - 26/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์บุษกร  ยอดทราย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สาวิตรี  ทิพนี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 65 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท รวม 1,950 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,950.00 บาท 1,950.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 1 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท รวม 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จำนวน 4 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท รวม 2,400 บาท
รวมทั้งสิ้น 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5550.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อยากให้มีการจัดการเวลาในการให้ข้อเสนอแนะของกรรมการ
อยากให้มีเอกสารหรือข้อมูลเพิ่มเติมคำแนะนำเพื่อนำไปต่อยอด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ทางอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการจะทำการวางแผนการดำเนินงานและมีการกำหนดเวลาที่ชัดเจน ของผู้นำเสนอ และผู้ให้ข้อเสนอแนะ โดยมีการอธิการแบบเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและสามารถจัดการเวลาให้ดีขึ้นได้ อีกทั้งจะทำการจัดทำเอกสารหรือข้อเสนอแนะ/คำแนะนำเพิ่มเติมเป็นเอกสารสรุป เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปศึกษาและต่อยอดได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
โครงการนี้เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประกอบการด้านธุรกิจสุขภาพ และนักศึกษาสามารถนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาสินค้า/ธุรกิจสุขภาพได้ ซึ่งสามารถนำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 11701 002 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจด้านสุขภาพ (Health Business Entrepreneurship) ปีการศึกษาที่ 1/2567 โดยการจัดทำแบบประเมินใบงาน ต่าง ๆ ทำให้นักศึกษาสามารถแสดงแนวคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้นำเสนอแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ เพื่อเป็นแนวทางในการต่อยอดธุรกิจสุขภาพ
ช่วงเวลา : 26/09/2567 - 26/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล