21764 : โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการระดับนานาชาติด้านพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/7/2567 14:59:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2567  ถึง  31/07/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  4  คน
รายละเอียด  นักศึกษาระดับนานาชาติ จำนวนรวม 4 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน รายได้จากแหล่งอื่น / รายได้จากค่าลงทะเบียน จำนวน 100,000 บาท 2567 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน  หอมดวง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.3 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.3.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 3.1.4 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 3.1.4.1 เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University)
ตัวชี้วัด 67-1.2.3 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. U 67-1.2.3 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 67-ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 67-3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-3.1.3 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสู 67-3.1.3 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทุกระดับ ทุกหลักสูตร หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมชาวต่างชาติ (Inbound/ Outbound)
กลยุทธ์ 67-เพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติ และนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นความร้อนสุดขั้วที่เกิดขึ้นบ่อยและรุนแรง คลื่นความร้อนในมหาสมุทร ฝนตกหนัก ความแห้งแล้งทางการเกษตรและระบบนิเวศน์ในบางภูมิภาคประสบภัยแล้ง อัตราส่วนการเกิดพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรง ตลอดจนปริมาณการลดลงของน้ำแข็งในทะเล หิมะปกคลุม และชั้นดินเยือกแข็งคงตัวบริเวณขั้วโลกเหนือที่ลดลง นั่นคือผลกระทบจากปัญหาโลกร้อนมีสาเหตุมาจากปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มมากขึ้นในบรรยากาศจากการกระทำของมนุษย์โลก อดีตจนถึงปัจจุบันใช้พลังงานจากปิโตเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นอย่างมาก จากการประมาณการโดย Fair Planet แพลตฟอร์มสื่อเพื่อการรักษาโลกจากเบอร์ลินกล่าวว่า ในอนาคตการใช้พลังงานจากก๊าซธรรมชาติสามารถใช้ได้อีก 400 ปี จากเชื้อเพลิงฟอสซิลเหลือให้ใช้อีก 150 ปี แต่การใช้พลังงานจากปิโตเลียมจะเหลือให้ใช้เพียง 50 ปี เท่านั้น พลังงานทางเลือกเป็นพลังงานที่กำลังเป็นที่ประชากรทั่วโลกส่งผลให้ประชากรโลกหันมาให้ความสนใจ พลังงานทางเลือกจากแหล่งอื่น 7 แหล่ง ได้แก่ แสงอาทิตย์ (solar) ลม (wind) ความร้อนใต้พิภพ (geothermal) ไฟฟ้าพลังน้ำ (hydroelectric) ชีวมวล (biomass) และไฮโดรเจน (hydrogen) นอกจากนี้ยังมีแหล่งพลังงานจากมหาสมุทร (ocean) ทั้งนี้ความเหมาะสมในการใช้พลังงานทดแทนขึ้นอยู่กับแต่ละภูมิภาคว่ามีสภาพแวดล้อมและความพร้อมต่างกันอย่างไร อาเซี่ยนเป็นจุดเชื่อมทางการเมืองและเศรษฐกิจของโลกที่มีประชากรประมาณ 600 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน มีทรัพยากรธรรมชาติ และแร่ธาตุหายากมาก ค่าแรงงานไม่สูงสามารถแข่งขันได้ การเมืองค่อนข้างมีเสถียรภาพ เป็นฐานการผลิตอาหาร และสินค้าเกษตรสำคัญของโลก เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม และเป็น SUPPLY CHAIN สำคัญของ โลก โดยทั่วไปประชากรอาเชี่ยนมีการศึกษาไม่สูง แรงงานส่วนใหญ่ขาดทักษะที่จะนำใน SUPPLY CHAIN เช่นอุตสาหกรรมและอาหารในไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น และระบบสาธารณูปโภคยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ดังนั้นการพัฒนาส่งเสริมบุคลากรให้มีทักษะในด้านการทำงานวิศวกรรม พลังงานและสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่องสำคัญมากและควรดำเนินการอย่างเร่งด่วน ประเทศไทยเองมียุทธศาสตร์ทางด้านพลังงานเป็นพื้นฐานยุทธศาสตร์ชาติอยู่แล้ว ที่ผ่านมาได้มีการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทนอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยที่สำคัญของประเทศไทย เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จากผลของความรู้และทักษะที่มีมาอย่างยาวนาน ถ้ามหาวิทยาลัยชั้นนำเหล่านี้ดำเนินการอบรมพัฒนาบุคลากรให้กับประชาคมอาเชียนจะทำให้แก้ปัญหาการเหลื่อมล้ำ พลังงานและสิ่งแวดล้อมในอาเชียนได้ ดังนั้นในโครงการนี้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีความประสงค์ที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมให้กับประชาคมอาเซี่ยน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนทักษะบุคลากรร่วมกันระหว่างประเทศอันนำมาซึ่งการลดการเหลื่อมล้ำ การรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างอาชีพ การสร้างรายได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
- เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนในภูมิภาคอาเชียนให้มีความรู้และทักษะด้านพลังงานทดแทนและสิ่งแวดล้อม
- เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะด้านพลังงานทดแทนและสิ่งแวดล้อมให้กับประชาคมอาเซี่ยน
- เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนทักษะบุคลากรในกลุ่มประเทศอาเซี่ยน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาระดับนานาชาติ ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตในศตวรรคที่ 21 ผ่านการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน ในสถานประกอบการจริง การบูรณการการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการ และการศึกษาดูงาน
KPI 1 : งบประมาณที่ใช้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
KPI 2 : นักศึกษาระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 คน 4
KPI 3 : - นักศึกษาระดับนานาชาติ ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้านชีวมวลมาใช้ในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา และนำเสนอผลการวิเคราะห์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : การดำเนินงาน
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ปี 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาระดับนานาชาติ ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตในศตวรรคที่ 21 ผ่านการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน ในสถานประกอบการจริง การบูรณการการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการ และการศึกษาดูงาน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล ค่าลงทะเบียน 6,000 บาท/คน (ระยะเวลาฝึกอบรม สิงหาคม – ตุลาคม 2567)
1. กิจกรรมการจัดการอบรมการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนให้กับนักศึกษาระดับนานาชาติ โดยการใช้เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล ในรูปแบบ On-Site
2. กิจกรรมนักศึกษาไปศึกษาดูงานนอกห้องเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
สมทบค่าสาธารณูปโภคของมหาวิทยาลัย จำนวน 10% ของค่าลงทะเบียน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (บรรยาย และปฏิบัติ) จำนวน 88 ชม. ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,600.00 บาท 17,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็กแผ่น, ลวดเชื่อม, ถัง 200 ลิตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น เชื้อเพลิง, ถ่าน, มูลสัตว์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 1,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : ออกแบบ ติดตั้งและบำรุงรักษาระบบเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าบนหลังคาและการเกษตร ค่าลงทะเบียน 7,000 บาท/คน (ระยะเวลาฝึกอบรม พฤศจิกายน 2567 – มกราคม 2568)
1. กิจกรรมการจัดการอบรมการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนให้กับนักศึกษาระดับนานาชาติ โดยการใช้ออกแบบ ติดตั้งและบำรุงรักษาระบบเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าบนหลังคาและการเกษตร ในรูปแบบ On-Site
2. กิจกรรมนักศึกษาไปศึกษาดูงานนอกห้องเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
สมทบค่าสาธารณูปโภคของมหาวิทยาลัย จำนวน 10% ของค่าลงทะเบียน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (บรรยาย และปฏิบัติ) จำนวน 88 ชม. ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,600.00 บาท 17,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง
เช่น เหล็กเส้น, เหล็กฉาก, ลวดเชื่อม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น สายไฟ, คัดเอาท์ไฟ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ผ้าเช็ดมือ, ถังน้ำ, ถุงมือ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,200.00 บาท 2,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การเขียนแบบทางวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าลงทะเบียน 6,000 บาท/คน (ระยะเวลาฝึกอบรม กุมภาพันธ์ – เมษายน 2568)
1. กิจกรรมการจัดการอบรมการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนให้กับนักศึกษาระดับนานาชาติ โดยการใช้การเขียนแบบทางวิศวกรรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. กิจกรรมนักศึกษาไปศึกษาดูงานนอกห้องเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
สมทบค่าสาธารณูปโภคของมหาวิทยาลัย จำนวน 10% ของค่าลงทะเบียน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (บรรยาย และปฏิบัติ) จำนวน 88 ชม. ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,600.00 บาท 17,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา, กระดาษเขียนแบบ, ดินสอ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น ถ่าน ALKALINE, ปลั๊กไฟ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ผ้าขนหนู, ถุงมือ, ตะกร้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : การตรวจสอบแบบไม่ทำลายด้วยอากาศยานไร้คนขับ (โดรน) ค่าลงทะเบียน 6,000 บาท/คน (ระยะเวลาฝึกอบรม พฤษภาคม – กรกฎาคม 2568)
1. กิจกรรมการจัดการอบรมการปฏิบัติการและการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนให้กับนักศึกษาระดับนานาชาติ โดยการใช้การตรวจสอบแบบไม่ทำลายด้วยอากาศยานไร้คนขับ (โดรน)
2. กิจกรรมนักศึกษาไปศึกษาดูงานนอกห้องเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2567 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
สมทบค่าสาธารณูปโภคของมหาวิทยาลัยจำนวน 10% ของค่าลงทะเบียน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ (บรรยาย และปฏิบัติ)จำนวน 88 ชม. ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,600.00 บาท 17,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกาเคมี, กระดาษสีA4, ดินสอ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น ถ่าน ALKALINE, ปลั๊กไฟ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ผ้าอเนกประสงค์, ถุงมือ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล