21724 : โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/6/2567 13:42:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/07/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินพัฒนานักศึกษา) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ 2567 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สมศักดิ์  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.3 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
ตัวชี้วัด 67-6.3.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-6.3.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มา ประยุกต์ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้จัดการเรียนการสอนของแต่ละสาขาวิชาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ของแต่ละแขนงสาขาวิชาอย่างครบถ้วน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ โดยส่วนใหญ่การเรียนภาคปฏิบัติจะดำเนินการอยู่ภายในมหาวิทยาลัย เป็นหลัก จึงจำเป็นต้องมีการศึกษานอกห้องเรียนร่วมด้วย ซึ่งเป็นรูปแบบการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่จะช่วยพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ และสร้างสรรค์ความคิดใหม่ ๆ จากประสบการณ์ตรงที่ได้รับอันจะเป็นประโยชน์ต่อผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 (พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม) ภายใต้การดำเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนพัฒนาส่วนงานในมิติที่ 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing) ที่ให้บุคลากร นักศึกษา บัณฑิตใหม่ที่ยังไม่มีงานทำ และผู้ประกอบการได้เข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะในการนำไปเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานหรือสร้างธุรกิจใหม่ได้ โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้กำหนดเป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ ในพ.ศ.2570 คือการ “พลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่การสร้างบัณฑิตผู้ประกอบการเศรษฐกิจสร้างคุณค่า ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในระดับนานาชาติ” โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ เป็นแนวทางหนึ่งในฝึกทักษะวิชาชีพของนักศึกษา ที่สามารถนำมาเปิดมุมมองและโอกาสของการเป็นผู้ประกอบการ ได้มีโอกาสเรียนรู้การทำธุรกิจ และส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพ เพื่อก่อให้เกิดผู้ประกอบการใหม่ที่ดีในอนาคต สามารถสร้างมุมมองการเป็นผู้ประกอบการ เป็นแนวทางในการดำเนินงานต่อไปในอนาค

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเพื่อสร้างรายได้สู่การสร้างบัณฑิตเป็นผู้ประกอบการ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. เพื่อให้นักศึกษามีความสมบูรณ์พร้อม ทั้งความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัย แม่โจ้-แพร่ฯ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการเป็นผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัย แม่โจ้-แพร่ฯ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “การบริการและจำหน่ายเครื่องแบบและสัญลักษณ์นักศึกษา”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล