21633 : โครงการเสนาแลกเปลี่ยนความรู้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพการการนำเสนอผลงานวิชาการทางด้านสัตว์ศาสตร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/5/2567 14:31:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/06/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  90  คน
รายละเอียด  คณาจารย์และนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ และ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (น่าน)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ที่จัดสรรให้กับสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 9,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรพงษ์  ทองเรือง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 67-1.3 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-1.3.7 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-1.3.7.2 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เปิดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาเป็นผู้อุดมไปด้วยความรู้ ทั้งทางด้านวิชาการ และการปฏิบัติในศาสตร์วิชาทางด้านสัตวศาสตร์ที่เป็นหลักสากล ตลอดจนมุ่งเน้นให้นักศึกษามีศักยภาพที่รอบด้านทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นผู้นำ ตลอดจน มีบุคลิกภาพที่ดีในการนำเสนอผลงานต่างๆ ให้เป็นที่ประจักษ์ในเชิงวิชาการ ดังนั้น ตลอดระยะเวลาในการดำเนินการของหลักสูตรยังมุ่งเน้นให้นักศึกษาเป็นผู้กล้าแสดงออก ในการนำเสนองาน โดยสอดแทรกส่งเสริมให้เกิดการนำเสนอหน้าชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง ในการนี้ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถของนักศึกษาในด้านการแสดงออก รวมทั้งการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ คณะกรรมกรรมบริหารหลักสูตร สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ร่วมกับ กรรมการบริหารหลักสูตรสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (น่าน) จึงมีความประสงค์สร้างความร่วมมือทางด้านวิชาการ โดยจัดการเสวนา และนำเสนอผลงานของนักศึกษาทั้งสองมหาวิทยาลัย ได้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และสร้างความร่วมมือทางด้านวิชาการให้เกิดความเข้มแข็งให้มากยิ่งขึ้น โดยมีการจัดกิจกรรม ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการทางด้านสัตว์ศาสตร์
2 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เพิ่มศักยภาพในการนำเสนอผลงานทางวิชาการและเกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะความรู้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านสัตว์ศาสตร์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 คน 90
KPI 3 : จำนวนเครือข่ายทางวิชาการด้านสัตวศาสตร์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เครือข่าย 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะความรู้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านสัตว์ศาสตร์
ชื่อกิจกรรม :
เสวนาแลกเปลี่ยนความรู้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพการการนำเสนอผลงานวิชาการทางด้านสัตว์ศาสตร์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/06/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 90 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 9000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล