21629 : โครงการ: พยาบาลแม่โจ้อาสาพาชุมชนปลอดบุหรี่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
อาจารย์วารุณี ผ่องแผ้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/5/2567 15:53:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาพยาบาล จำนวน 80 คน นักเรียนโรงเรียนสันทรายวิทยาคม จำนวน 15 คน อาจารย์และบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 10 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการพยาบาลอาสาพาชุมชนปลอดบุหรี่ (โดยได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จำนวน 8,000 บาท) 2567 8,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วารุณี  ผ่องแผ้ว
อาจารย์ บุษกร  ยอดทราย
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ67-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.1.4 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ (ม-2.1.8)
กลยุทธ์ พยบ67-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
ตัวชี้วัด พยบ67-2.1.5 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 (ม-2.1.9)
กลยุทธ์ พยบ67-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

บุหรี่เป็นยาเสพติดตัวแรกที่เยาวชนติด และเป็นสื่อนำไปสู่สิ่งเสพติดอื่นที่ร้ายแรงกว่าและปัจจุบันมีบุหรี่ไฟฟ้าซึ่งเป็นที่นิยมในเยาวชนที่หันไปใช้บุหรี่ไฟฟ้าเนื่องจากคิดว่าปลอดภัย ไม่มีอันตราย ที่สำคัญผู้ใหญ่ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่มวนบางคนหันมาสูบบุหรี่ไฟฟ้าแทนด้วยเหตุดังกล่าวเช่นกัน บุหรี่ไฟฟ้าหรือบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์เป็นภัยเงียบที่สำคัญในปัจจุบันของวัยรุ่น จากกลยุทธ์ทางการตลาด เช่น การโฆษณา ที่สร้างให้เชื่อว่าการสูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเพราะไม่มีใบยาสูบ อีกทั้งยังสร้างภาพของผู้สูบว่าเป็นคนทันสมัย แต่ในความเป็นจริงกลับพบว่าบุหรี่ไฟฟ้ามีนิโคตินผสมอยู่ในปริมาณมากและสามารถนำเข้าสู่ร่างกายผู้สูบได้มากกว่าการสูบบุหรี่ ธรรมดาถึง 5 - 9 เท่า ขึ้นอยู่กับปริมาณนิโคตินที่มีอยู่ในบุหรี่ไฟฟ้า จึงกล่าวได้ว่านิโคตินที่มีปริมาณมากกว่าบุหรี่ธรรมดาย่อมทำอันตรายต่อสุขภาพของผู้สูบได้มากกว่าเช่นกัน ปัญหาการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทยทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นอันตรายต่อสุขภาพไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าบุหรี่มวน ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร รวมทั้งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันทางการเกษตร มีนักศึกษาชายเข้ามาศึกษาจำนวนมากจึงทำให้พฤติกรรมการสูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นเรื่องปกติ ชมรมนักศึกษาพยาบาลสร้างสังคมปลอดบุหรี่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพยาบาลแม่โจ้อาสาพาชุมชนปลอดบุหรี่เพื่อเป็นการสร้างกระแสให้มีการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ การจัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดบุหรี่ การจัดพื้นที่สูบบุหรี่และให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจัง รวมทั้งการจัดให้มีการให้คำปรึกษาเพื่อเลิกบุหรี่และการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในวัยรุ่นตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อสร้างความตระหนักให้แกนนำนักศึกษาพยาบาลเห็นความสำคัญของการรณรงค์สร้างสังคมไทยปลอดบุหรี่
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่ ผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่ บุหรี่กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) การช่วยเลิกการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบบุหรี่รูปแบบใหม่ (บุหรี่ไฟฟ้า) และการรู้เท่าทันกลยุทธ์ของบริษัทบุหรี่
3.เพื่อให้ความรู้วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงเรื่องอันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้า
4.เพื่อช่วยผู้สูบรายเก่าให้เลิกสูบ
5.เพื่อให้การดำเนินโครงการของชมรมเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาพยาบาลมีความรู้การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่ (บุหรี่ไฟฟ้า) และพิษภัยของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพ และผู้สูบบุหรี่เลิกบุหรี่ได้ภายใน6เดือน
KPI 1 : วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนนักเรียนที่เลิกบุหรี่ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 คน 15
KPI 3 : ร้อยละนักศึกษาพยาบาลมีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ต่อสุขภาพเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนกิจกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กิจกรรม 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาพยาบาลมีความรู้การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่ (บุหรี่ไฟฟ้า) และพิษภัยของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพ และผู้สูบบุหรี่เลิกบุหรี่ได้ภายใน6เดือน
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการพยาบาลแม่โจ้อาสาพาชุมชนปลอดบุหรี่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์สุรัช  สุนันตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วารุณี  ผ่องแผ้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์บุษกร  ยอดทราย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อ มื้อละ 50 บาท จำนวน 100 คน รวม 5000 บาท
ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ มื้อละ 15 บาท จำนวน 100 คน รวม 3000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ช่วงทำกิจกรรมจะมีช่วงปิดภาคฤดูร้อน ทำให้การดำเนินกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง และบางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ใช้สื่อสังคมออนไลน์ช่วยในการสื่อสาร จัดกิจกรรม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล