21519 : โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย : An Examination of Claude Opus 3 AI: Pros, Cons, and Ethical Implications of AI-Generated Research Writing
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.ปารดา เดชะประทุมวัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/4/2567 16:20:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/05/2567  ถึง  09/05/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  บุคลากรสายวิชาการคณะศิลปศาสตร์และคณะอื่นที่สนใจ (เฉพาะกรณีที่ยังมีที่นั่งว่าง)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ผลผลิต: ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนพัฒนาบุคลากร งบเงินอุดหนุน 2567 4,225.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปารดา  เดชะประทุมวัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี  ชุมทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.2 จำนวนเงินวิจัยด้านสังคมศาสตร์
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.1.2 แสวงหางบประมาณการวิจัยทั้งงบภายในและภายนอก(ครอบคลุมแหล่งทุนอื่นนอกจาก PMU เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ได้มาตรฐานทางวิชาการและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสังคมได้
เป้าประสงค์ LA67-2.3 บุคลากรมีศักยภาพในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางการวิจัยของคณะและมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด LA67-2.3.1 จำนวนเงินวิจัยด้านสังคมศาสตร์ (ล้านบาท)
กลยุทธ์ LA66-2.3 -1.บุคลากรมีศักยภาพในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางการวิจัยของคณะและมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ โดยเฉพาะในด้าน Generative AI เช่น Claude และ GPT-4 ที่มีศักยภาพสูงในการสร้างสรรค์ข้อความ แปลภาษา และวิเคราะห์ข้อมูล ส่งผลให้เกิดโอกาสใหม่ๆ ในการนำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยในหลากหลายสาขา ซึ่งการประยุกต์ใช้ AI ในงานวิจัยอย่างเหมาะสมนั้นสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของกระบวนการวิจัย ตั้งแต่การทบทวนวรรณกรรม การวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงานผลการวิจัย อย่างไรก็ตาม การใช้ AI ก็มีข้อจำกัดและความท้าทายบางประการที่นักวิจัยควรตระหนัก นอกจากนั้น นักวิจัยมีความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้และเข้าใจถึงประเด็นจริยธรรมในการใช้ AI เพื่อให้การประยุกต์ใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และเหมาะสม สอดคล้องกับจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ ดังนั้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีระหว่างนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านปัญญาประดิษฐ์จึงช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการนำ AI มาใช้ประโยชน์ในบริบทของงานวิจัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ผลักดันให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิจัยเพื่อกำหนดขอตำแหน่งทางวิชาการและเพื่อเป็นกรรมการหลักสูตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : หลักสูตรได้จัดโครงการ An Examination of Claude Opus 3 AI: Pros, Cons, and Ethical Implications of AI-Generated Research Writing
KPI 1 : จำนวนคนเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : หลักสูตรได้จัดโครงการ An Examination of Claude Opus 3 AI: Pros, Cons, and Ethical Implications of AI-Generated Research Writing
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง An Examination of Claude Opus 3 AI: Pros, Cons, and Ethical Implications of AI-Generated Research Writing

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/05/2567 - 09/05/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปารดา  เดชะประทุมวัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาราณี  ชุมทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม (35 คน x 35 บาท x 1 มื้อ))
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,225.00 บาท 0.00 บาท 1,225.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
(1 คน x 1000 บาท x 3 ชม.)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4225.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล