21517 : ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/4/2567 12:01:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/04/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  280  คน
รายละเอียด  -นักศึกษาปัจจุบัน จำนวน 200 คน -อาจารย์ จำนวน 10 คน -ศิษย์เก่า จำนวน 40 คน -ผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จักรพงษ์  สุขพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.3 ทบทวนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยให้ได้คุณภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องกับสถานการณ์แผน/ผลการรับนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA67-G-4 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด BA67-KPI-10 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ BA67-S-10 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียนอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันหลักสูตรต่าง ๆ ในสถาบันอุดมศึกษามีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น หนึ่งในกลยุทธ์การแข่งขันของหลักสูตรคือการจัดการเรียนการสอนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ของหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อจะได้นำไปพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย นอกจากนั้นการประกันคุณภาพตามระบบ AUN-QA ยังเน้นถึงเรื่องการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียอยู่เสมอ ซึ่งการที่จะปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจำเป็นที่ต้องทราบถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ของหลักสูตร ดังนั้น หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล) จึงมีความต้องการที่จะศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ของหลักสูตรเพื่อจะเป็นข้อมูลในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย และเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายงานการศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)
KPI 1 : รายงานการศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฉบับ 1
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
280 คน 280
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายงานการศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)
ชื่อกิจกรรม :
ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ AUN-QA หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (วิชาเอก นวัตกรรมการตลาดและการตลาดดิจิทัล)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/04/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.จำเนียร  บุญมาก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุธาวัลย์  สัจจสมบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุตาภัทร  คงเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อดิศร  สิทธิเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  ศรีนฤวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อายุส  หยู่เย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาเก็บรวมรวบและวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมจัดทำรูปเล่ม เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล