21477 : โครงการฝึกอบรมมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกทุเรียนของเกษตรกรและผู้ประกอบการส่งออกออกทุเรียนในประเทศไทย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/3/2567 14:27:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/03/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ผู้ส่งออกทุเรียน ผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน รายรับจากค่าลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 กิจกรรม รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 84,000 บาท ได้แก่
1) กิจกรรมฝึกอบรม : หลักปฏิบัติในการตรวจรับผลทุเรียนฯ จำนวน 60 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
2) กิจกรรมฝึกอบรม : การปฏิบัติการที่ดีสำหรับโรงรวบรวมผักและผลไม้สดฯ จำนวน 60 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท
2567 41,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลพร  ปานง่อม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.4 ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
ตัวชี้วัด 67-6.4.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-6.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ทุเรียนถือเป็นไม้ผลเศรษฐกิจของประเทศไทยที่สร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นอย่างมาก โดยมีเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิตมากถึง 721,872 ไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562) ส่วนใหญ่แล้วทุเรียนจะมีการปลูกกันมากในภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศไทย แต่พื้นที่ในภาคเหนือตอนบนก็มีศักยภาพในการปลูกทุเรียนได้เช่นกัน โดยจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนที่ปลูกทุเรียนได้มากที่สุด (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562) โดยคิดเป็นพื้นที่เก็บเกี่ยวถึง 35,405 ไร่ รองลงมาเป็นจังหวัดแพร่ ซึ่งมีพื้นที่เก็บเกี่ยว 673 ไร่ โดยกระจายการปลูกส่วนใหญ่อยู่ใน 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองแพร่ สูงเม่น เด่นชัย ลอง วังชิ้น มูลค่าการส่งออกทุเรียนสดสู่ตลาดโลกรวมกว่า 1,465 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นเงินไทยประมาณ 46,000 ล้านบาท (ประชาชาติธุรกิจ, ออนไลน์) โดยประเทศไทยส่งออกทุเรียนมากที่สุดคือ จีน กลุ่มอาเซียน และฮ่องกง ซึ่งยังครองแชมป์ผู้ส่งออกทุเรียนเป็นอันดับ 1 ของโลก (ไทยรัฐ, ออนไลน์) สาเหตุหลักที่ทำให้ประเทศไทยไทยส่งออกทุเรียนได้เป็นจำนวนมากเป็นเพราะความตกลงการค้าเสรี (เอฟทีเอ) กับ 16 ประเทศคู่เอฟทีเอ ส่งผลให้ทุเรียนไทยไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า จากภาพรวมจะเห็นได้ว่าแนวโน้มการส่งออกทุเรียนเติบโตและสูงขึ้นทุกปี ขั้นตอนการส่งออกทุเรียนไปต่างประเทศมีข้อเกี่ยวข้องกับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์การส่งออกผักและผลไม้ และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก เกษตรกรหรือผู้ส่งออกทุเรียนที่มีความต้องการส่งออกทุเรียนไปจำหน่ายยังต่างประเทศจะต้องผ่านการฝึกอบรมกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่กระบวนการผลิต การเตรียมผลผลิต และการขนส่ง ดังนั้นโครงการฝึกอบรมนี้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเกษตรกรหรือผู้ที่มีความต้องการส่งออกทุเรียนไปต่างประเทศ ให้สามารถดำเนินการส่งออกทุเรียนไปต่างประเทศได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดความรู้กฎระเบียบการนำเข้า-ออกสินค้าพืชไทยในกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกและส่งออกทุเรียน และผู้สนใจทั่วไป
2 เพื่อถ่ายทอดความรู้เรื่องมาตรการการส่งออกผลิตภัณฑ์ประเภทผักและผลไม้ออกต่างประเทศให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกและส่งออกทุเรียน และผู้สนใจทั่วไป
3 เพื่อสร้างรายได้จากการบริการวิชาการแก่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฝึกอบรมมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกทุเรียนของเกษตรกรและผู้ประกอบการส่งออกออกทุเรียนในประเทศไทย
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการดำเนินงาน (กำไรสุทธิ) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
42400 บาท 42400
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฝึกอบรมมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกทุเรียนของเกษตรกรและผู้ประกอบการส่งออกออกทุเรียนในประเทศไทย
ชื่อกิจกรรม :
1) การอบรมมาตรฐานสินค้าเกษตร: หลักปฏิบัติในการตรวจรับผลทุเรียนสำหรับโรงรวบรวมและโรงคัดบรรจุด้วยหลักสูตรออนไลน์ (E-learning)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/03/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางศิรภัสสร  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ขนิษฐา  เกตุสุวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าพาหนะสำหรับวิทยากร (ไป-กลับ) เป็นเงิน 1,780 บาท
3.2 ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 1 คืนๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,680.00 บาท 0.00 บาท 13,680.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13680.00
ชื่อกิจกรรม :
2) การฝึกอบรมมาตรฐานสินค้าเกษตร: การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงรวบรวมผักและผลไม้สดเพื่อการส่งออกต่างประเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/03/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางศิรภัสสร  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ขนิษฐา  เกตุสุวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดา  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 1 คืนๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
3.2 ค่าพาหนะสำหรับวิทยากร (ไป-กลับ) เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 18,700.00 บาท 0.00 บาท 18,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา แฟ้มกระดุม กระดาษ ฯลฯ เป็นเงิน 5,020 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,020.00 บาท 0.00 บาท 5,020.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 27920.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนในห้องปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมตาม มคอ.3 ในรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร (ทช 212) ของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมเกษตร และวิชาเทคโนโลยีการฟื้นฟูป่าไม้ (ปม 642) ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการป่าไม้ (ทพ 308) ระบบมาตรฐานและการควบคุมการผลิตพืช ของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช และรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นผู้ประกอบการ
ช่วงเวลา : 27/03/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล