20053 : SAS-66 โครงการพัฒนากระบวนการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายนัฐพล ภาคภูมิ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/5/2566 15:31:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
30/05/2566  ถึง  31/07/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่วิทยาลัยบริหารศาสตร์ และคณะกรรมการตรวจประเมิน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2566 2566 47,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย นัฐพล  ภาคภูมิ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. พิชญ์  จิตต์ภักดี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.9 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-67 (6) พัฒนาระบบบริหารและการจัดการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ตามแนวทางการบริหารภาครัฐแนวใหม่
เป้าประสงค์ SAS 63-67 (6.1) ยกระดับการบริหารวิทยาลัยบริหารศาสตร์สู่วิทยาลัยชั้นนำ
ตัวชี้วัด SAS 65-67 ผลการประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยบริหารศาสตร์
กลยุทธ์ SAS สนับสนุนให้นำระบบการประเมินคุณภาพการศึกษามาเป็นเครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง “คุณภาพ คือ หัวใจ”
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่ได้กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติต่างๆ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการดำเนินงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อตอบสนองต่อเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และสอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เพื่อก้าวไปสู่การสร้างบัณฑิตให้เกิดการเรียนรู้และมีคุณภาพอย่างแท้จริง สอดคล้องกับความต้องการของสังคม และสามารถนำพาประเทศสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านการเรียนการสอน ดำเนินกิจกรรมเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ และพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานหลักสูตรของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ให้มีความพร้อมเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคม และประเทศชาติ วิทยาลัยมีการจัดการเรียนการสอนระดับหลักสูตรให้มีคุณภาพและมาตรฐาน โดยมีการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตรด้วยเกณฑ์ AUN-QA จำนวน 4 หลักสูตร ได้แก่ 1) หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต 2) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 3) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต 4) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นผู้ประเมินระดับหลักสูตร มาเป็นผู้ตรวจประเมินและให้ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงานคุณภาพการศึกษาด้วยเกณฑ์ AUN-QA นับเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการประเมินผลการดำเนินงานระดับหลักสูตรของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ทั้งนี้ผลการประเมินจะสามารถสะท้อนถึงผลการพัฒนาและแนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานของหลักสูตรให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป อีกทั้ง วิทยาลัยมีการบริหารและจัดการเพื่อให้บรรลุคุณภาพในระดับอุดมศึกษาและสร้างความมั่นใจให้แก่สังคม โดยการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับระดับคณะ ด้วยเกณฑ์ CUPT-QMS โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิมาประเมินและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการบริหารงานหน่วยงาน ตลอดจนนำข้อเสนอแนะมาพัฒนาปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้วิทยาลัยบริหารศาสตร์ดียิ่งขึ้นเพื่อก้าวสู่การยอมรับระดับสากลต่อไป ดังนั้น วิทยาลัย จึงกำหนดจัดโครงการพัฒนากระบวนการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ขึ้น ณ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้คณาจารย์ และบุคลากร ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนเพื่อยกระดับการบริหารหลักสูตรและคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้นเพื่อก้าวสู่การประเมินระดับสากลต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานหลักสูตรของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
เพื่อนำกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษามาขับเคลื่อนการดำเนินงานของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ให้ก้าวไปสู่การเป็นหน่วยงานที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
เพื่อยกระดับการบริหารหลักสูตรและคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้นเพื่อก้าวสู่การประเมินระดับสากลต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ด้วยเกณฑ์ AUN-QA
KPI 1 : ร้อยละผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในเกณฑ์ย่อย (Sub-Criteria) อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเกณฑ์ย่อยทั้งหมด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
KPI 2 : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ด้วยเกณฑ์ AUN-QA ทุกหลักสูตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คะแนน 3
ผลผลิต : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับคณะ ตาม CUPT-QMS Guidelines
KPI 1 : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะ ด้วยเกณฑ์ CUPT-QMS
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คะแนน 3
KPI 2 : ร้อยละผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในเกณฑ์ย่อย (Sub-Criteria) อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเกณฑ์ย่อยทั้งหมด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ด้วยเกณฑ์ AUN-QA
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/06/2566 - 16/06/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายนัฐพล  ภาคภูมิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน x 150 บาท x 4 มื้อ = 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 35 บาท x 8 มื้อ = 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการประเมิน ระดับหลักสูตร (ประธาน 1,500 x 1 คน + กรรมการ 1,000 x 2 คน + เลขานุการ 500 x 1 คน = 4,000) x 4 หลักสูตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24800.00
ผลผลิต : ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับคณะ ตาม CUPT-QMS Guidelines
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/07/2566 - 11/07/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายนัฐพล  ภาคภูมิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน x 150 บาท x 2 มื้อ = 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 35 บาท x 4 มื้อ = 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการประเมิน ระดับคณะ ประธานบุคคลภายนอก 5,000 x 1 คน + กรรมการ 1,500 x 2 คน + เลขานุการ 1,000 x 1 คน = 9,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล