19911 : โครงการ การพัฒนาหลักสูตรในวิถีใหม่ Next Norm และเตรียมความพร้อมในการขอรับรองหลักสูตรเพื่อสอดรับเกณฑ์ใหม่ของสภาวิศวกร ตามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/3/2566 10:43:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
17/03/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5  คน
รายละเอียด  นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรภายในและภายนอก
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2566 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 จำนวน 18,000 บาท 2566 18,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชลัมพล  ธารารักษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน  หอมดวง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.9 จำนวนรายวิชาเรียนรู้ตลอดชีวิต
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.18 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรที่สนองความต้องการของภาครัฐและเอกชน หลักสูตรความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 66-6.1 การบูรณาการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดค่าใช้จ่ายและแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 66-6.1.7 ฐ 66-6.1.7 ฐานข้อมูล/วารสาร/การประชุมวิชาการ ด้านพลังงาน
กลยุทธ์ 66-สนับสนุนให้คณาจารย์จัดทำฐานข้อมูล/วารสาร/การประชุมวิชาการ ด้านพลังงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศที่ติดกับดับรายได้ปานกลางหมายถึงประเทศที่มีอุปสรรค์ในการยกระดับรายได้ต่อหัวจากระดับรายได้ปานกลางไปสู่รายได้ระดับสูง (สูงกว่า 12,563 ดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งประเทศไทยได้ประสบปัญหานี้มาอย่างยาวนาน อันเนื่องจากกำลังแรงงานเริ่มมีจำนวนคงที่ แต่ค่าครองชีพและแรงงานสูงขึ้น รวมทั้งประเทศไทยไม่ได้มีการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมที่จะไปแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศมากพอ ทำให้ประเทศไทยไม่สามารถแข่งขันกับประเทศที่มีรายได้ระดับสูงได้ จากข้อมูลของสำนักงบประมาณของรัฐสภาในปี 2563 ได้ปรากฏข้อมูลรายได้ต่อหัวของประเทศไทยพบว่า ประเทศไทยมีรายได้ต่อหัว 7,293.83 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งอยู่ในช่วงประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูง อย่างไรก็ตามสิ่งที่น่าเป็นห่วงสำหรับประเทศไทยคือการเติบโตของรายได้ต่อหัวของประเทศไทยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องโดยอยู่ในระหว่างร้อยละ 7 – 9 ในช่วงก่อนปี 2540 ร้อยละ 4 – 7 ในปี 2546 – 2550 และ ต่ำกว่าร้อยละ 4 ในปี 2558 – 2561 แสดงได้ถึงการเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศไทยมีแนวโน้มลดลง การแก้ปัญหากับดับรายได้ปานกลางสามารถทำได้โดยการเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิตรูปแบบใหม่ โดยทางรัฐบาลได้กำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีให้มีการแข่งขันกับประเทศอื่นได้ หนึ่งในนโยบายนั้นคือการส่งเสริมและลงทุนอุตสาหกรรมเป้าหมายแห่งอนาคตและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนดใหญ่ให้ครอบคลุม โดยมีโครงการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจคือโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ( EEC ) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศในอนาคต ได้แก่ First S-Curve (ยานยนต์แห่งอนาคต อิเล็คโทรนิกส์อัจฉริยะ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร และการท่องเที่ยวรายได้สูงและเชิงสุขภาพ) รวมทั้งอุตสาหกรรม New S-Curve (หุ่นยนต์ การบินและโลจิสติกส์ การแพทย์ครบวงจร เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ และดิจิทัล) ด้วยเหตุนี้ ทางวิทยาลัยพลังงานทดแทนมีนโยบายในการสร้างหลักสูตรที่มีใบประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรมให้เป็นเกณฑ์ความรู้ให้กับวิทยาลัยพลังงานในการประยุกต์ใช้สถานศึกษาในอนาคต เพื่อผลิตบุคลากรใช้ตรงกับความต้องการ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยการนำเสนอแนวคิดหลักสูตรหรือการขอรับรองปริญญาในอนาคต นั้นมีเนื้อหาของวิชา ประกอบด้วย ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมและความรู้วิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม นอกจากนี้สถาบันการศึกษาต้องมีคณาจารย์ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้อมสุมด วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน และสถานที่การศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งมีการจัดทำระบบประกันคุณภาพการศึกษาและผ่านการรับรองจากกระทรวงที่รับผิดชอบ เพื่อให้วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประกอบด้วย หลักสูตรวิศวกรรมพลังงานทดแทน วิศวกรรมการอนุรักษ์พลังงาน วิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะและนวัตกรรมเกษตร และหลักสูตรภาคพิเศษที่จะเกิดขึ้นใหม่ เข้าใจและเป็นไปตามมาตรการผลิตบุคลากรเข้าสอดคล้องทางด้านวิศวกรรมและสามารถขอรับปริญญาแบบองค์ความรู้ (Self-Declaration) วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงจัดโครงการการจัดการความรู้ในการรับรองปริญญาแบบองค์ความรู้ (Self-Declaration) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่บุคลากรของคณะฯ ให้เข้าใจและดำเนินการรับรองปริญญาของหลักสูตรที่สังกัด ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงภาพรวมของยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยกับวิทยาลัยพลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้บุคลากรของวิทยาลัยพลังงานทดแทน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพัฒนาหลักสูตรในวิถีใหม่ Next Norm 2023
เพื่อให้บุคลากรในแต่ละสาขาวิชาได้มีการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองหลักสูตรจากสภาวิศวกร
เพื่อให้บุคลากรของวิทยาลัยพลังงานทดแทน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการรับรองปริญญาแบบองค์ความรู้ (Self-Declaration )
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : หลักสูตรวิศวกรรมที่ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร
KPI 1 : หลักสูตรวิศวกรรมที่ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฉบับ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : หลักสูตรวิศวกรรมที่ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร
ชื่อกิจกรรม :
1. จัดทำรูปเล่มหลักสูตรวิศวกรรมได้รับการรับรองจากสภาวิศวกรพร้อมกับแบบฟอร์มการสำรวจตัวเอง (Self – Declaration)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/03/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชลัมพล  ธารารักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าพาหนะวิทยากร ค่าตั๋วเครื่องบินไป – กลับสำหรับวิทยากร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 1 คืน x 1,000 บาท 1 ห้อง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 120 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 35 บาท 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม ๆ ละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 650 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล