18744 : โครงการ "กำกับดูแลและติดตามการทำงานของโครงการ U2T for BCG ในภาพรวมของจังหวัดชุมพร"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ดร.ณรงค์ โยธิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/9/2565 13:47:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/09/2565  ถึง  30/12/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  600  คน
รายละเอียด  ผู้ร่วมโครงการในพื้นที่ตำบลภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินสนับสนุนการดำเนินการของ อว.ส่วนหน้า ประจำจังหวัดชุมพร 2565 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. ณรงค์  โยธิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.5 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 41. สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่ คณะรัฐมนตรีมีมติ วันที่ 14 มิถุนายน 2565 เห็นชอบให้กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)โดยสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ดำเนินโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มีวัตถุประสงค์ในการจัดสรรบุคลากรที่มีศักยภาพทั้งที่ยังอยู่ในระหว่างการหางาน หรือกำลังทำงานอยู่ในปัจจุบัน เพื่อช่วยเหลือชุมชนต่างๆ ให้มีการเติบโตและรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างยั่งยืน โดยผู้เข้าร่วมในโครงการนี้จะต้องเข้าไปทำงานกับชุมชน “เป็นระยะเวลา 3 เดือน” ผ่านการใช้หลักการ BCG เพื่อเพิ่มรายได้ของแต่ละตำบลทั้งสิ้นร้อยละ 10 นับจากวันเริ่มโครงการจนวันสิ้นสุดโครงการ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการ อว.ส่วนหน้าระดับจังหวัด เพื่อรองรับนโยบายการขับเคลื่อนไทยไปด้วยกันในระดับพื้นที่จังหวัดเพื่อให้การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ระดับจังหวัดสามารถขับเคลื่อไปได้โดยเร็ว ลดปัญหาและอุปสรรค ทั้งใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำศักยภาพ ของจังหวัด ชุมชน และท้องถิ่นมาผสานกับองค์ความรู้ งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ พัฒนากระบวนการผลิตและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานในพื้นที่ระดับจังหวัด ประสานการนำงานด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และเชื่อมโยงโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ให้เข้ากับนโยบายขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน จึงเห็นสมควรให้หน่วยปฏิบัติการ อว.ส่วนหน้า เข้ามามีบทบาทในการศึกษากำกับดูแลและติดตามการทำงานของโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ในภาพรวมของจังหวัดชุมพร เพื่อได้ข้อมูลและแนวทางที่จะนำไปต่อยอดการพัฒนาจังหวัดในโครงการด้านเศรษฐกิจฐานรากต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคมรายจังหวัดของโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development)
2 วิเคราะห์ GAP Analysis เพื่อจัดทำข้อเสนอการพัฒนารายจังหวัด โดยใช้ข้อมูลจาก ระบบ PBM
3 รวบรวมข้อมูล Community Big Data ระดับจังหวัดเพื่อใช้ในการพัฒนาพื้นที่ต่อไป
4 เพื่อให้เกิดการบูรณาการในแผนการดำเนินการ แผนการใช้ทรัพยากร และทำให้สามารถขับเคลื่อนพื้นที่ได้ในระดับจังหวัด
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต : 1.รายงานผลการดำเนินงานรายจังหวัดของโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ตามค่าเป้าหมาย ของโครงการ 2.ผลการศึกษา SROI รายจังหวัดของโครงการ (U2T for BCG) เพื่อใช้ต่อยอดงานด้านเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัด 3.แนวทางการใช้ข้อมูล Community Big Data ระดับจังหวัดเพื่อให้หน่วยงานพื้นที่ใช้ประโยชน์
KPI 1 : การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต : 1.รายงานผลการดำเนินงานรายจังหวัดของโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ตามค่าเป้าหมาย ของโครงการ 2.ผลการศึกษา SROI รายจังหวัดของโครงการ (U2T for BCG) เพื่อใช้ต่อยอดงานด้านเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัด 3.แนวทางการใช้ข้อมูล Community Big Data ระดับจังหวัดเพื่อให้หน่วยงานพื้นที่ใช้ประโยชน์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม : 1.ศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมรายจังหวัด ของโครงการขับเคลื่อเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ด้วยเครื่องมือ Social Return on lnvestment (SROI)
2.รายงานสรุป ตัวชี้วัดการดำเนินงานระดับตำบลและระดับสถาบันอุดมศึกษา ของโครงการในระดับจังหวัด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/09/2565 - 30/12/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ขนิษฐา  พัฒนสิงห์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลแบบสอบถามการสำรวจ SROI อว.ส่วนหน้า จำนวน 600 ชุด ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
2.ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามการสำรวจ SROI อว.ส่วนหน้า จำนวน 1 งาน ๆ ละ 40,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล