18734 : SAS-66 โครงการเสริมสร้างความรู้ "การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการต่อต้านการทุจริต" ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางสาวสุไรรัตน์ มั่นคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/9/2565 15:18:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/09/2565  ถึง  29/10/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  196  คน
รายละเอียด  - นักศึกษารายวิชา รศ 141 การต่อต้านการทุจริต จำนวน 196 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ปีงบประมาณ 2566 2566 31,360.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. รุจาดล  นันทชารักษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-67 (1) จัดการศึกษาด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 63-65 (1.2) บัณฑิตมีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพด้านการเมืองการปกครอง การบริหารรัฐกิจ กฎหมายและการบริหารกิจการเพื่อสังคม
ตัวชี้วัด SAS-65-67 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ SAS ส่งเสริมการจัดกิจกรรมแก่นักศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ลงนามความร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่ ในการร่วมกันรณรงค์เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจและการส่งเสริมให้คนเป็นพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย โดยได้จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้เป็นเครือข่ายการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่ดี อย่างจริงจัง ต่อเนื่องและยั่งยืน ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และสนับสนุนการปฏิบัติงานระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้กับเยาวชน นักศึกษา เครือข่ายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเครือข่ายของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่ ให้ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของตนต่อการพัฒนาประชาธิปไตย มีความหวงแหนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของประเทศในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย และ เป็นส่วนหนึ่งของสังคม วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ได้เปิดการเรียนการสอนรายวิชา รศ141 การต่อต้านการทุจริต เพื่อให้นักศึกษาศึกษาความหมายของการทุจริต ประเภทและรูปแบบของการทุจริต ทุจริตโดยตรง ทุจริตโดยอ้อม ทุจริตเชิงนโยบาย ผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม สาเหตุของปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อสภาวะทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ผลกระทบของการทุจริตที่มีต่อการพัฒนาการและความเจริญเติบโตของประเทศ สาเหตุ และปัจจัยที่ก่อให้เกิดการทุจริต หลักธรรมาภิบาลสากลในการปฏิบัติงานนโยบายและแนวทางในการบริหารงานด้านธรรมาภิบาล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในระดับสากล ระดับประเทศ ทัศนคติและความตระหนักถึงผลกระทบที่ร้ายแรงของการทุจริต จิตสำนึกความเป็นพลเมืองดีในการป้องกันและต่อต้านการทุจริต แนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต อีกทั้ง เพื่อให้บรรลุเจตนารมณ์ตามที่ได้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างความรู้ การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการต่อต้านการทุจริต ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยได้เชิญผู้แทนจาก สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติภาค 5 มาบรรยายให้ความรู้หัวข้อเรื่อง “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกับโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และการดำเนินงาน” และหัวข้อเรื่อง “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกับนโยบายสนับสนุนการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการต่อต้านการทุจริต” ในวันที่ 8 ตุลาคม 2565 และได้เชิญผู้แทนจาก สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่ มาบรรยายให้ความรู้หัวข้อเรื่อง “คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่กับบทบาทในการสนับสนุนภาคประชาชนเพื่อป้องกันการทุจริตในการเลือกตั้ง” ในวันที่ 19 ตุลาคม 2565

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการทำงานของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะกรรมการเลือกตั้ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : -นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาทของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการการเลือกตั้ง
KPI 1 : -นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการทำงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : -นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการทำงานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : -นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาทของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ชื่อกิจกรรม :
-รับฟังการบรรยายพิเศษ หัวข้อ
1.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกับโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ และการดำเนินงาน
2.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกับนโยบายสนับสนุนการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการต่อต้านการทุจริต
3.คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเชียงใหม่กับบทบาทในการสนับสนุนภาคประชาชนเพื่อป้องกันการทุจริตในการเลือกตั้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/10/2565 - 19/10/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.รุจาดล  นันทชารักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหาร

ในวันที่ 8 ตุลาคม 2565
จำนวน 196 คน ๆ ละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
=13,720 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ในวันที่ 8 ตุลาคม 2565
จำนวน 196 คน ๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ
=11,760 บาท
ในวันที่ 19 ตุลาคม 2565
จำนวน 196 คน ๆ ละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ
= 5,880 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
31,360.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,360.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31360.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล