18360 : โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรพลังงานทดแทนและพัฒนาสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/5/2565 12:59:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
17/05/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  จำนวน 50 คน ประกอบด้วย คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาวิทยาลัยพลังงานทดแทน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ประจำปี 2565 แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย งานบริหารทั่วไป กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 55,000 บาท (ห้าหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
2565 55,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสริมสุข  บัวเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชูรัตน์  ธารารักษ์
นาย ธนชาต  มหาวัน
นาย นักรบ  กลัดกลีบ
นาย ชลัมพล  ธารารักษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร  สาสุจิตต์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 1.1 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 1.1.1 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต ได้กำหนดเส้นทางยุทธศาสตร์การพัฒนาออกเป็น 3 เส้นทาง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์(Organic University) , มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์ (Eco. University) โดยระยะเริ่มต้น 5 ปีแรก (พ.ศ.2555-2559) จะให้ความสำคัญในการพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์เป็นลำดับแรกและเริ่มปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยและชุมชนโดยรอบเพื่อเตรียมก้าวเข้าสู่ Green และ Eco. University ในระยะต่อไป ในระยะกลาง คือระหว่างปีที่ 6-10 (พ.ศ.2560-พ.ศ.2564) มหาวิทยาลัยจะให้ความสำคัญกับกายภาพและสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยให้เห็นผลเป็นรูปธรรม เช่น การปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เป็นธรรมชาติ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การอนุรักษ์พลังงาน และการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ส่วนระยะสุดท้าย คือในช่วง พ.ศ.2565-พ.ศ.2569 มหาวิทยาลัยจะขยายผลสู่การปรับเปลี่ยนแนวคิด จิตสำนึก และพฤติกรรมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งนักศึกษา บุคลากร บัณฑิต ศิษย์เก่า และขยายผลการดำเนินงานสู่ชุมชนให้มหาวิทยาลัยเป็นต้นแบบและเป็นผู้นำชุมชน และประเทศชาติสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ และนำพาแม่โจ้สู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ดังนั้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะกลาง วิทยาลัยพลังงานทดแทน จึงได้มีการจัดโครงการปรับปรุงกายภาพและสิ่งแวดล้อมสู่วิทยาลัยสีเขียว เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่โดยรอบวิทยาลัยให้มีความปลอดภัยและน่าอยู่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมด้านแสงสว่างด้วยพลังงานทดแทน
เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)
เพื่อตอบสนองการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยปีที่ 100
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พื้นที่โดยรอบวิทยาลัยฯ ได้รับการพัฒนาปรับปรุง
KPI 1 : จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการปรับปรุง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พื้นที่ 1
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและบุคลากรที่มีต่อความปลอดภัยด้านแสงสว่างด้วยระบบพลังงานทดแทน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พื้นที่โดยรอบวิทยาลัยฯ ได้รับการพัฒนาปรับปรุง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม :
ปรับปรุงระบบระบบโซล่าเซลล์ (ไฟโซล่าเซลถนนวิทยาลัยพลังงานทดแทนวิทยาลัยฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/05/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสริมสุข  บัวเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตัดต้นไม้บริเวณสายไฟฟ้าแรงสูงจำนวน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ จำนวน 8000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้างจำนวน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,800.00 บาท 0.00 บาท 20,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 48800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมปรับปรุงระบบไฟถนน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/05/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูรัตน์  ธารารักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุจำนวน 6,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,200.00 บาท 6,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล