17190 : โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าทางการเกษตรและพลังงานเพื่อสร้างรายได้ให้กับวิทยาลัยพลังงานทดแทน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/6/2564 15:24:25
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/06/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  4  คน
รายละเอียด  บุคลากรวิทยาลัยพลังงานทดแทน นักศึกษา ผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป (มิติที่ 1) 2564 17,750.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริญ  คงกระพันธ์
น.ส. นงเยาว์  เต๋จ๊ะใหม่
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกราน  หอมดวง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.2 มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง (Organic farm & fruit)
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.4 ความสำเร็จของการพัฒนา Product Champion (ตลอด Supply Chain)
กลยุทธ์ 64 MJU 1.2.6 พัฒนาผลิตภัณฑ์อินทรีย์ต้นแบบที่มีความเป็นเลิศตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 1.2 มีศักยภาพในการผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง (Organic farm & fruit)
ตัวชี้วัด 1.2.2 1.2.2 ความสำเร็จของการพัฒนา Product Champion (ตลอด Supply Chain)
กลยุทธ์ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อินทรีย์ต้นแบบที่มีความเป็นเลิศตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้า
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่วิทยาลัยพลังงานทดแทนได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการเป็นประจำทุกปี เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงานตามภารกิจต่างๆ ของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยวิทยาลัยพลังงานทดแทนได้ตอบสนองนโยบายของทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในด้านการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ทั้งนี้เทคโนโลยีระบบอบแห้งแบบผสมผสานอัจฉริยะ ภายใต้ชุดโครงการ ระบบอบแห้งอัจฉริยะต้นแบบสำหรับการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณภายในมหาวิทยาลัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้เสร็จสมบูรณ์และผ่านการทดลองแปรรูปอาหารอบแห้งในระดับกึ่งอุตสาหกรรมเป็นที่เรียบร้อย ดังนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้และถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าววิทยาลัยฯจึงจัดให้มีโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าทางการเกษตรและพลังงานเพื่อสร้างรายได้ให้กับวิทยาลัยพลังงานทดแทน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อต่อยอดเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
เพื่อหารายได้ด้วยเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยเข้าสู่หน่วยงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกวิชาชีพด้านการแปรรูปอาหารอบแห้ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สามารถหารายได้จากเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยของหน่วยงาน และสามารถดำเนินโครงการต่อได้ด้วยงบประมาณที่ได้รับ
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 คน 4
KPI 2 : ผลิตภัณฑ์อบแห้งที่ผ่านการบรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อการจัดจำหน่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 กิโลกรัม 50
KPI 3 : ผลิตภัณฑ์อบแห้งที่ผ่านมาตรฐานอาหารอบแห้งพร้อมจำหน่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 กิโลกรัม 50
KPI 4 : ผลิตภัณฑ์อบแห้งมีคุณภาพผ่านมาตรฐานอาหารอบแห้ง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 กิโลกรัม 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สามารถหารายได้จากเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยของหน่วยงาน และสามารถดำเนินโครงการต่อได้ด้วยงบประมาณที่ได้รับ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1: การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์อบแห้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/06/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญ  คงกระพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ปฎิบัติงาน 5 วัน วันละ 200 บาทต่อคน (2,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
- ใบมะกรูด ราคา กก. ละ 60 บาท จำนวน 50 กก. (3,000 บาท)
- ตะไคร้ ราคา กก. ละ 25 บาท จำนวน 50 กก. (1,250 บาท)
- ข่า (หั่นชิ้น) ราคา กก. ละ 60 บาท จำนวน 50 กก. (3,000 บาท)
- พริกชี้ฟ้าแดง ราคา กก. ละ 60 บาท จำนวน 50 กก. (3,000 บาท)
-เห็ดหูหนู ราคา กก.ละ 70 บาท จำนวน 50 กก. (3,500 บาท)
หมายเหตุ: ราคาวัตถุดิบอาจมีการเปลี่ยนตามภาวะตลาด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,750.00 บาท 13,750.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15750.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2: การบรรจุผลิตภัณฑ์อบแห้งเพื่อจากจัดจำหน่าย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/06/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญ  คงกระพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ปฎิบัติงาน 5 วัน วันละ 200 บาทต่อคน (2,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล