16976 : โครงการประชุมเสวนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/2/2564 10:07:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/03/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และนักวิชาการศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2564 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง เหมสุดา  แก้วกอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.8 จำนวนหลักสูตร Lifelong Learning
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.14 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรที่สนองความต้องการของภาครัฐและเอกชน หลักสูตรความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64-1. การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 64-1.1 การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน
ตัวชี้วัด 64-1.1.1 จำนวนหลักสูตร Lifelong Learning
กลยุทธ์ 64-1.1.1.1 การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา 4 ประการ คือ ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศในพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา คือ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ Thailand 4.0 และชุมชนได้ ในกระบวนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพนั้น ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญหลายประการ เช่น หลักสูตรที่ดี คณาจารย์ที่มีคุณภาพ สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียน รวมถึงกิจกรรมนักศึกษานอกห้องเรียนที่จะส่งเสริมการพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ คือ “เป็นบัณฑิตที่ดี มีความรู้ ทักษะ เป็นนักปฏิบัติที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และมีสุขภาวะที่ดี ในบริบทของความเป็นนานาชาติ” ดังนั้น เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรและเสริมสร้างความเข้มแข็งของหลักสูตรเพื่อรองรับการขับเคลื่อน Thailand 4.0 โดยการผลักดันการดำเนินงานด้านหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 และให้ได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF) และเพื่อบรรลุผลในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการของประเทศ เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ในแนวทาง OBE และดึงดูดให้มีผู้เข้าศึกษาต่อเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ที่มุ่งเน้นการจัดการการเรียนการสอนที่ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และคุณภาพการจัดการศึกษาที่สามารถผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพ โดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดยเน้นทางด้านการเกษตรที่เน้นความเป็นเลิศด้านเกษตรปลอดภัยและเทคโนโลยี เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น และสังคมของประเทศ มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งโครงการนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการส่งเสริมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรที่จะช่วยสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ชาติและมหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเป็นการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเป็นที่ต้องการของผู้เรียน
2 เพื่อจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตรระยะ 5 ปี และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของหลักสูตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการประชุมเสวนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม”
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการประชุมเสวนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม”
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางเหมสุดา  แก้วกอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ค่าพาหนะ) เป็นเงิน 7,820 บาท
2. ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงานขับรถ จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 480 บาท
3. ค่าที่พักสำหรับพนักงานขับรถ จำนวน 1 คืน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท
4. ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 3 ห้อง ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
5. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,400.00 บาท 0.00 บาท 17,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล