16971 : โครงการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่การตีพิมพ์และเผยแพร่(64-2.4.1)-Incentive
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/2/2564 9:34:39
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏับัติราชการ(incentive)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/03/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน **งบประมาณ Incentive**
แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ผลผลิต : ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี
กิจกรรมหลักการบริหารงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี
แผนงานวิจัย
งานวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี
กองทุนเพื่อการวิจัย
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการภารกิจพัฒนางานเดิม (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2)
2564 10,723.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ณัชวิชญ์  ติกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.11 จำนวนเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.1 ผลักดันการวิจัยตามแผนแม่บทการวิจัยระยะ 15 ปี ที่สอดคล้อง กับทิศทางมหาวิทยาลัยและของชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.13 ร้อยละของอาจารย์และนักวิจัยประจำที่มีผลงานวิจัย
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.3 สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัย
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.4 พัฒนาสมรรถนะนักวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักวิจัยรุ่นใหม่ในหลายๆช่องเทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัย
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.5 สร้าง/พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านงานวิจัย ให้มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น เช่น ระบบนักวิจัยพี่เลี้ยง เมธีวิจัย ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สร้างนักวิจัยทายาท
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.14 ร้อยละผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.7 พัฒนาระบบและกลไกในการติดตาม ผลักดัน การจัดทำฐานข้อมูลการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.16 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กพอ.
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.8 ส่งเสริมและสนับสนุนการนำผลงาน และเผยแพร่ผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.10 ส่งเสริมและสนับสนุนนักวิจัยให้ไปนำเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.17 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.2.11 ส่งเสริมและผลักดันวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-67)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.4(64-67)-FAED ผลงานวิจัยได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.11FAED64 จำนวนเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลยุทธ์ FAED-2.4.1(64-67) สนับสนุนและผลักดันการทำโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.2(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัยและสามารถนำผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอนและบริการวิชาการผ่านกลไกการบริหารงานของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.3(64-67) พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในหลาย ๆ ช่องทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัยของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.4(64-67) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งข้อมูลงานวิจัยอย่างง่าย
กลยุทธ์ FAED-2.4.5(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมจากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปสู่การใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและบริบทของหน่วยงาน (Stakeholders)
กลยุทธ์ FAED-2.4.6(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน ระดับชาติ และนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.4.7(64-67) เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่มีศักยภาพการอ้างอิงโดยผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.13FAED64 ร้อยละของอาจารย์และนักวิจัยประจำที่มีผลงานวิจัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.1(64-67) สนับสนุนและผลักดันการทำโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.2(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัยและสามารถนำผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอนและบริการวิชาการผ่านกลไกการบริหารงานของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.3(64-67) พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในหลาย ๆ ช่องทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัยของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.4(64-67) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งข้อมูลงานวิจัยอย่างง่าย
กลยุทธ์ FAED-2.4.5(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมจากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปสู่การใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและบริบทของหน่วยงาน (Stakeholders)
กลยุทธ์ FAED-2.4.6(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน ระดับชาติ และนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.4.7(64-67) เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่มีศักยภาพการอ้างอิงโดยผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.14FAED64 ร้อยละผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ FAED-2.4.1(64-67) สนับสนุนและผลักดันการทำโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.2(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัยและสามารถนำผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอนและบริการวิชาการผ่านกลไกการบริหารงานของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.3(64-67) พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในหลาย ๆ ช่องทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัยของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.4(64-67) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งข้อมูลงานวิจัยอย่างง่าย
กลยุทธ์ FAED-2.4.5(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมจากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปสู่การใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและบริบทของหน่วยงาน (Stakeholders)
กลยุทธ์ FAED-2.4.6(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน ระดับชาติ และนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.4.7(64-67) เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่มีศักยภาพการอ้างอิงโดยผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.16FAED64 ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กพอ.
กลยุทธ์ FAED-2.4.1(64-67) สนับสนุนและผลักดันการทำโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.2(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัยและสามารถนำผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอนและบริการวิชาการผ่านกลไกการบริหารงานของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.3(64-67) พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในหลาย ๆ ช่องทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัยของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.4(64-67) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งข้อมูลงานวิจัยอย่างง่าย
กลยุทธ์ FAED-2.4.5(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมจากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปสู่การใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและบริบทของหน่วยงาน (Stakeholders)
กลยุทธ์ FAED-2.4.6(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน ระดับชาติ และนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.4.7(64-67) เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่มีศักยภาพการอ้างอิงโดยผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.17FAED64 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)
กลยุทธ์ FAED-2.4.1(64-67) สนับสนุนและผลักดันการทำโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับทิศทางของคณะและมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-2.4.2(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์และนักวิจัยทำงานวิจัยและสามารถนำผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอนและบริการวิชาการผ่านกลไกการบริหารงานของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.3(64-67) พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยในหลาย ๆ ช่องทาง เช่น ผ่านหน่วยวิจัยและศูนย์วิจัยของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.4.4(64-67) สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งข้อมูลงานวิจัยอย่างง่าย
กลยุทธ์ FAED-2.4.5(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมจากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปสู่การใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยและบริบทของหน่วยงาน (Stakeholders)
กลยุทธ์ FAED-2.4.6(64-67) สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ใน ระดับชาติ และนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.4.7(64-67) เพิ่มจำนวนบทความวิจัยที่มีศักยภาพการอ้างอิงโดยผลักดันให้อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พัฒนามาจากภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สังกัดคณะผลิตกรรมการเกษตร มานานกว่า 20 ปี และได้รับการรับรองจากสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2549 ซึ่งผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ และบัณฑิตหลักสูตร 5 ปี สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ปัจจุบันได้เปิดสอนหลักสูตรสถาปัตยกรรม รวมทั้งระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม และสาวขาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม นอกจากนั้นเป็นหน่วยงานหลักที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนระดับปริญญาโทร่วมกับหลายคณะในสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมสาขาวิชาการใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและสาขาวิชาพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน ด้วยธรรมชาติด้านการเรียนการสอนของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมซึ่งแตกต่างไปจากสหสาขาวิชาอื่น ๆ ประกอบกับข้อจำกัดของเวลาและภาระงานของคณาจารย์ในคณะ จึงมีผลให้คณาจารย์มีโอกาสในการสร้างผลงานวิจัยได้น้อย ดังนั้น การกำหนด “ทิศทาง แผนงานการวิจัยและการประเมินผล” ที่เป็นรูปธรรม สามารถเสริมสร้างศักยภาพด้านการวิจัย การเรียนการสอนและงานบริการชุมชน แบบบูรณาการสามเส้า โดยที่เวลาและภาระงานเอื้ออำนวย ดังนั้น การพัฒนาข้อเสนองานวิจัยการถ่ายทอด ทิศทาง แผนงานการวิจัยและประเมินผล ตลอดจนการนำเสนอบทความทางวิชาการและการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการนับเป็นการกำหนดแนวทางการดำเนินการทางการวิจัยที่มีความชัดเจนมากขึ้น โครงการจัดทำแผนงานวิจัยเพื่อสร้างโครงการและงานวิจัยที่เป็นรูปธรรม แผนงานบุคลากรรับผิดชอบและระยะเวลาที่ชัดเจนโดยคณาจารย์ทุกท่านมีส่วนร่วมเพื่อก่อให้เกิดความหลากหลายของสหวิชาการที่เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนทุกระดับและสามารถเพิ่มศักยภาพขอคณาจารย์ด้านการทำวิจัยและผลิตผลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ ทั้งตอบสนองชุมชนและเอื้อต่อสภาพแวดล้อม ภายใต้นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ พ.ศ. 2560 – 2564 และยุทธศาสตร์และแผนงานวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนับสนุนการผลิตงานวิจัยในชั้นเรียน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ด้านศิลปะ ภูมิทัศน์ ภูมิสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะผลงานวิจัย ที่เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และการนำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น
เพื่อสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักวิจัยรุ่นใหม่ในการผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาความชำนาญเฉพาะด้าน
เพื่อสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์อย่างสม่ำเสมอ ที่สามารถนำไปจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และจดลิขสิทธิ์ในนามมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อสนับสนุนบุคลากรของคณะ นำเสนอและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการให้เป็นที่ยอมรับ ในวารสารวิชาการ งานประชุมหรืองานสัมมนาวิชาการ ทั้งระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ
เพื่อบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านการเรียนการสอน และสู่การเผยแพร่ผลงานต่อชุมชน
เพื่อจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดระหว่างอาจารย์ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนา องค์ความรู้ และสร้างสรรค์บรรยากาศทางวิชาการภายในสถาบันการศึกษา
เพื่อสร้างระบบและแรงจูงใจแก่บุคลากรที่มีงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่การตีพิมพ์และเผยแพร่
KPI 1 : จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลงาน 2
KPI 2 : จำนวนผู้นำเสนอและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 คน 1
KPI 3 : ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 ร้อยละ 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่การตีพิมพ์และเผยแพร่
ชื่อกิจกรรม :
2.4.1.1 กิจกรรมการสนับสนุนการนำเสนอผลงานวิจัย หรือตีพิมพ์เผยแพร่งานสร้างสรรค์ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชวิชญ์  ติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและงานสร้างสรรค์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 723.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 723.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2723.00
ชื่อกิจกรรม :
2.4.1.2 กิจกรรมทุนสนับสนุนการทำงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ด้านศิลปะ ภูมิทัศน์ ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมและออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม หรืองานวิจัยและงานสร้างสรรค์ในชั้นเรียนแบบบูรณาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชวิชญ์  ติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุและอุปกรณ์ในการผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล