15881 : โครงการเสริมสร้างทักษะให้แก่นักศึกษาเพื่อบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร PLO
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
ดร.วัฒนาพงษ์ ใหม่เฟย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/7/2563 16:52:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/07/2563  ถึง  31/07/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  140  คน
รายละเอียด  จำนวน 140 คน แบ่งเป็น นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 (นักศึกษาใหม่) คณะสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวน 120 คน คณาจารย์ บุคลากร และผู้ปกครอง 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน -ไม่ใช้งบประมาณ- 2563 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กริ่งกาญจน์  เจริญกุล
ดร. วัฒนาพงษ์  ใหม่เฟย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะ IT ภาษาอังกฤษ วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ฯลฯ
กลยุทธ์ 61-64MJU1.5.2 บูรณาการกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่สนับสนุนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63Info-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 63Info-1.4 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและทักษะในการดำเนินชีวิตตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด 63Info-1.1 ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Green communication
กลยุทธ์ 63Info-1.4.1 มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เสริมสร้างทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Green communication พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพและการบูรณาการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม และการรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมทั้งศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และเครือข่ายองค์กรวิชาชีพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงเชิงวิชาชีพของภาคผลิตในสังคม (Real Sector)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการเสริมทักษะให้นักศึกษาเพื่อบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร PLO เป็นกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 ได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของเครือข่ายการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network Quality Assurance : AUNQA) AUNQA) ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2561 ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อสร้างกลไกการประกันคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนจุดมุ่งหมายพื้นฐานสองประการ ประการแรก คือ การวัด และประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล แล้วนำมาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียน และการสอนของอาจารย์ การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กัน หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการเรียนการสอนก็ขาด ประสิทธิภาพ ทั้งนี้หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 ได้พัฒนาขึ้นโดยยึดแนวคิด Outcome Based Education และมีกระบวนการออกแบบหลักสูตรโดยใช้ Backward Curriculum Design โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLO) ที่ชัดเจนและมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลาดแรงงานและความต้องการของสังคม ตลอดจนสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ PLO 1 สามารถเข้าใจหลักการสำคัญด้านการสื่อสารดิจิทัล และองค์ประกอบของสื่อดิจิทัลแต่ละประเภท PLO 2 สามารถใช้แนวคิดและทักษะการคิดระดับสูงทั้งการคิดเชิงระบบ คิดเชิงวิเคราะห์และเชิงสร้างสรรค์ ในการสร้างผลงานให้มีคุณค่า มีประโยชน์หรือเป็นสิ่งใหม่ PLO 3 สามารถใช้ความรู้และทักษะทางเทคโนโลยี เพื่อการออกแบบและสร้างสื่อดิจิทัลตรงความต้องการกลุ่มเป้าหมายหรือสามารถพัฒนาในเชิงพาณิชย์และเกษตร PLO 4 สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ประเด็นด้านสื่อ โดยคำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งในและต่างประเทศ และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถูกต้องตรงประเด็นบนความรับผิดชอบ PLO 5 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย รับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และมีจิตอาสา ทั้งนี้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่เข้าใจผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLO) ทั้ง 5 ข้อ นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการวางแผนการประเมินเป้าหมายการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี (YLO) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถตั้งเป้าหมายและพัฒนาตนได้ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่เข้าใจผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLO)
เพื่อวางแผนแนวทางการประเมินเป้าหมายการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี (Year Learning Outcome : YLO) ให้ผู้เรียนสามารถตั้งเป้าหมายและพัฒนาตนได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี มีความเข้าใจในผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ทั้ง 5 PLO และหลักสูตรฯ มีแนวทางในการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี (Year Learning Outcome : YLO)
KPI 1 : ความรู้ความเข้าใจในผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร(PLO) ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี มีความเข้าใจในผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ทั้ง 5 PLO และหลักสูตรฯ มีแนวทางในการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี (Year Learning Outcome : YLO)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะให้แก่นักศึกษาเพื่อบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร PLO ผ่านสื่อออนไลน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/07/2563 - 31/07/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กริ่งกาญจน์  เจริญกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.วัฒนาพงษ์  ใหม่เฟย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล