15713 : โครงการพัฒนา DQ-Digital Intelligence (ความอัจริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในทศวรรษที่ 21
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.เพียรสว่าง บูชา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/3/2563 16:35:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/04/2563  ถึง  15/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1050  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 900 คน คณาจารย์และบุคลากร จำนวน 150 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โครงการภายใต้แผนงานพื้นฐาน โครงการตามนโยบายด้านการศึกษา 2563 634,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร  เรืองนภากุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.5.1 ร้อยละของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะ IT ภาษาอังกฤษ วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ฯลฯ
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63Info-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 63Info-1.4 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและทักษะในการดำเนินชีวิตตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด 63Info-1.1 ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Green communication
กลยุทธ์ 63Info-1.4.1 มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เสริมสร้างทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Green communication พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพและการบูรณาการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม และการรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมทั้งศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และเครือข่ายองค์กรวิชาชีพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงเชิงวิชาชีพของภาคผลิตในสังคม (Real Sector)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงด้านข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว หนึ่งในทักษะสำคัญของผู้คนในยุคนี้ ซึ่งมักเรียกกันว่า ทักษะในศตวรรษที่ 21 นั่นก็คือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากนี้ สิ่งที่ทั่วโลกกำลังเผชิญถือเป็นความท้าทายของนักการศึกษาในยุคนี้อย่างมาก ซึ่งในภาวะนี้ การทำให้นักการศึกษาเปลี่ยนมุมมองต่อไอทีว่าเป็นเครื่องมือหรือแพลตฟอร์มทางการศึกษาแพลตฟอร์มหนึ่งมาสู่แนวคิดที่ว่าจะทำอย่างไรให้นักศึกษาและนักวิชาการสามารถเอาตัวรอดและใช้ชีวิตอยู่ในโลกทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ได้อย่างเต็มภาคภูมินั้นเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมาก จากที่เคยมีตัวชี้วัด เช่น IQ (ความอัจฉริยะทางสติปัญญา) และ EQ (ความอัจฉริยะทางอารมณ์แล้ว ในยุคดิจิทัลยังมีตัวชี้วัดใหม่อย่าง DQ – Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ซึ่งสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 เช่น พลเมืองดิจิทัล สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในเชิงสร้างสรรค์ได้และความเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล การสอดแทรกความสามารถในการเป็นพลเมืองดิจิทัล ซึ่งเป็นความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี และการมีชีวิตอยู่ใน Digital World ให้กับอาจารย์และนักศึกษาเป็นสิ่งที่พวกเขาควรได้เรียนรู้ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยการพัฒนาทักษะทางเทคโนโลยีเพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองดิจิทัลได้อย่างเหมาะสมสามารถแบ่งออกได้เป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1. Digital citizen identity การเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการมีตัวตนบนโลกดิจิทัล และสามารถบริหารจัดการตัวตนทั้งบนโลกออนไลน์และโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. Screen time management การรู้จักควบคุมตัวเอง และสามารถแบ่งเวลาในการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการเล่นเกมออนไลน์และโซเชียลมีเดียอย่างรับผิดชอบ 3. Cyberbullying management การรับมือกับปัญหาการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ได้อย่างชาญฉลาด 4. Cybersecurity management มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลด้านความปลอดภัยของข้อมูลบนโลกไซเบอร์ได้ เช่น การสร้างพาสเวิร์ดที่เจาะได้ยาก หรือการรับมือกับภัยคุกคามบนโลกดิจิทัล 5. Privacy management มีความเข้าใจในเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) ทั้งของตนเองและของผู้อื่น ซึ่งรวมถึงการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล เช่น การแชร์ข้อมูลต่างๆ ด้วยเครื่องมือดิจิทัล 6. Critical thinking การมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะข้อมูลบนโลกดิจิทัล ตั้งแต่ว่าเป็นข้อมูลจริงหรือปลอม มาจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือไหม เป็นประโยชน์หรือเป็นอันตราย 7. Digital footprints การเข้าใจถึงสิ่งที่ตนเองทิ้งเอาไว้บนโลกดิจิทัล ซึ่งบางครั้งอาจถูกผู้อื่นสะกดรอยตามจากสิ่งเล็กๆน้อยๆ เหล่านั้นจนอาจมีผลกระทบต่อชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริงได้ รู้จักบริหารจัดการชีวิตบนโลกดิจิทัลอย่างรับผิดชอบ 8. Digital empathy มีความสามารถในการแสดงน้ำใจบนโลกออนไลน์ได้อย่างเหมาะสม ในระดับผู้กำหนดนโยบายก็ต้องมีความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้าง “พลเมืองดิจิทัล” และอัจฉริยะทางดิจิทัล (Digital Intelligence) อย่างแท้จริง หน่วยงานด้านการศึกษาควรให้ความสำคัญกับโปรแกรมการสร้างพลเมืองดิจิทัลขึ้นมาเป็นลำดับต้นๆ ด้วย และที่สำคัญที่สุดคือ ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันในการสร้างพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ โดยโครงการนี้จะเป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการเรียนรู้พัฒนาทักษะทางเทคโนโลยีเพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองดิจิทัลได้อย่างเหมาะสมสามารถแบ่งออกได้เป็น 8 ด้านให้แก่นักศึกษา และคณาจารย์ เพื่อนำไปปรับใช้ในการเรียนเรียนการสอน อันจะส่งผลดีและประโยชน์สำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัย และสังคม ชุมชน ประเทศชาติต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ความรู้และถอดบทเรียนด้านDQ – Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ให้แก่นักศึกษาและคณาจารย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อนำข้อมูลที่ได้เป็นข้อเสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในการสร้างบัณฑิตให้เป็นพลเมืองดิจิทัล และเท่าทันเทคโนโลยี ที่สอดคล้องต่อบริบทของสาขาวิชาต่างๆ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความรู้ความเข้าใจในการนำ DQ Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ไปใช้เพื่อพัฒนาตนเอง และสามารถดำรงอยู่ในสังคมดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. คณาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความรู้ความเข้าใจในการนำ DQ Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ไปใช้ในพัฒนาและสนับสนุนการเรียนการสอนให้เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1050 คน 1050
KPI 3 : การผลิตสื่อการสอนออนไลน์เพื่อเผยแพร่ผ่านระบบ MJU MOOC
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 วิชา 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความรู้ความเข้าใจในการนำ DQ Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ไปใช้เพื่อพัฒนาตนเอง และสามารถดำรงอยู่ในสังคมดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. คณาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีความรู้ความเข้าใจในการนำ DQ Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ไปใช้ในพัฒนาและสนับสนุนการเรียนการสอนให้เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การปรับใช้ DQ – Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) สู่แผนการเรียนรู้การสอน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 15/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร  เรืองนภากุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสรุปกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินผล (1 กิจกรรม x 1 เล่ม x 10,000 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ (1 ครั้ง x 30,000 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก (2 คน x 6 ชม. X 1,200 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 43,200.00 บาท 0.00 บาท 43,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน (4 คน x 3 ชม. X 300 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน (1 ครั้ง x 60,000 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (1 ครั้ง x 48,000 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์งาน (4 ชิ้น x 2,000 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารรูปเล่มรายงาน (3 เล่ม x 500 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 234500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนา DQ – Digital Intelligence (ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล) ของนักศึกษาสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2563 - 15/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร  เรืองนภากุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสรุปกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินผล (1 กิจกรรม x 1 เล่ม x 10,000 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อการสอนออนไลน์ (1ครั้ง*268,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 268,000.00 บาท 268,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก (2 คน x 6 ชม. X 1,200 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 43,200.00 บาท 43,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน (4 คน x 3 ชม. X 300 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน (1 ครั้ง x 12,500 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (1 ครั้ง x 23,100 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 23,100.00 บาท 0.00 บาท 23,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์งาน (4 ชิ้น x 2,000 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสารรูปเล่มรายงาน (3 เล่ม x 500 บาท x 3 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 4,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 400100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล