15696 : โครงการแม่โจ้-แพร่ สู้ภัยโควิด-19
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/3/2563 10:07:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
31/03/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  250000  คน
รายละเอียด  จากจำนวนประชากร ประกอบด้วย ประชาชนในอำเภอร้องกวาง อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอสอง และอำเภอเมืองแพร่ (บางส่วน) ของจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สุทิน  สามาทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 6.การบริหารจัดการสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization) (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 6.1 มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 6.1.4 ระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 6.1.6 พัฒนาระบบการสื่อสารองค์กรทั้งในเชิงยุทธศาสตร์และงานประจำ ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย มีแผนงานที่ชุดเจน ด้วยการบุรณาการทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความเข้าใจ และภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่มหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 5. การพัฒนาระบบบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมมาภิบาล
เป้าประสงค์ 5.1 การมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 5.1.1 ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อระบบบริหารจัดการของหน่วยงาน
กลยุทธ์ พัฒนาระบบการสื่อสารองค์กรทั้งในเชิงยุทธศาสตร์และงานประจำ ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย มีแผนงานที่ชุดเจน ด้วยการบุรณาการทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความเข้าใจ และภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่มหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า 2019 ในจังหวัดแพร่ (วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๓) สำนักงานสาธารสุขจังหวัดแพร่ ยังไม่พบผู้ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในจังหวัดแพร่ ตรวจพบผู้เข้าเกณฑ์เฝ้าระวัง (PUI) สะสมจำนวน ๑๔ คน ดำเนินการตรวจผู้ที่มีความเสี่ยงและไม่พบผู้ติดเชื่อ จำนวน ๑๓ ราย และรอผลการตรวจ จำนวน ๑ ราย โดยมีผู้ที่เดินทางกลับมาจาก ๑๕ ประเทศที่ต้องเฝ้าระวัง (กักตัวเองที่บ้าน) ได้แก่ จีน (รวมฮ่องกงและมาเก๊า) เกาหลีใต้ อิตาลี อิหร่าน ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ญี่ปุ่น เดินมาร์ก เนเธอร์แลนด์ สวีเดน อังกฤษ เยอรมนี จังหวัดแพร่ได้มีการติดตามผู้ที่เดินทางมาจากเขตติดโรคอันตรายและพื้นที่ที่มีการระบาดต่อเนื่อง จำนวน ๑๕ ประเทศ มีผู้อยู่สภาวะเสี่ยง ๑๘๖ ราย (ตั้งแต่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓) แบ่งเป็น กลุ่มเฝ้าระวังอาการครบ ๑๔ วัน จำนวน ๑๖๒ ราย และกลุ่มเฝ้าระวังอาการยังไม่ครบ ๑๔ วัน จำนวน ๒๔ ราย ในส่วนของแรงงานที่เดินทางกลับมาจากประเทศเกาหลีใต้ มีทั้งหมด ๒๓ ราย (ตั้งแต่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓) แบ่งเป็น กลุ่มเฝ้าระวังอาการครบ ๑๔ วัน จำนวน ๘ ราย และกลุ่มเฝ้าระวังอาการยังไม่ครบ ๑๔ วัน จำนวน ๑๕ ราย จากปัญหาดังกล่าว สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ FM 94 MHz (เสียงจากแม่โจ้-แพร่) ได้เล็งเห็นถึงแนวทางการช่วยเหลือและร่วมกันแก้ปัญหาในบริบทของสื่อสารมวลชน เพราะหลังจากการระบาดของไวรัสโคโรน่า ส่งผลให้ประชาชน จะมีความวิตกจริต ความกลัว และการเหยียด ผู้ติดเชื้อตามมา (ผู้เชี่ยวชาญได้เตือนแล้วว่าการรักษาระยะห่าง การกักกันผู้ติดโรคนั้นเป็นเรื่องที่จำเป็น แต่ไม่ควรไปถึงขั้นการเหยียดเชื้อชาติ และศักดิ์ศรีของผู้ป่วย ซึ่งกรณีดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นแล้วในประเทศอย่างสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย ซึ่งมีการเหยียดเชื้อชาติคนที่มาจากเอเชียตะวันออก) จากปัญหาข้างต้น สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สามารถดำเนินการในด้านต่าง ๆ ได้ เพื่อประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อรับมือสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโร่น่าในปัจจุบัน ประกอบด้วย - การให้ความรู้ แนวทางในการป้องกันต่อการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่ามีความสำคัญกับสถานการณ์ในประเทศไทย - การสร้างความเข้าใจต่อนโยบายของรัฐบาลต่อการที่ประชาชนที่สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัว - การเสริมสร้างการปฏิบัติตนเองตามหลักสุขภาพอนามัยต่อการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า - การไม่สร้างความตระหนกต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า เช่น การกักตุนสินค้า การกลัวสัตว์เลี้ยง การรังเกียจผู้ติดเชื้อ การไม่ตื่นตระหนกต่อการแพร่ระบาด

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและการปฏิบัติตนต่อสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโร่น่า
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ในเชิงภาพลักษณ์ขององค์กร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้-แพร่ สู้ภัยโควิด-19
KPI 1 : จำนวนครั้งที่ทำการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ครั้ง 20
KPI 2 : จำนวนชั่วโมงที่ทำการจัดรายการวิทยุ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ชั่วโมง 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการแม่โจ้-แพร่ สู้ภัยโควิด-19
ชื่อกิจกรรม :
การจัดรายการวิทยุผ่านสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 94 MHz เพื่อเผยแพร่ข้อมูล/ข่าวสารการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุทิน  สามาทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
การเผยแพร่ข้อมูล/ข่าวสารการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 31/03/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุทิน  สามาทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ในส่วนของสถานีวิทยุเพื่อการศึกษาดำเนินการไม่ได้เลย เกี่ยวข้องกับวัสดุและอุปกรณ์ที่มีอยู่ไม่ได้รองรับการผลิตสื่่อประชาสัมพันธ์ได้ และ จนท.ผู้ช่วยไม่มีศักยภาพในการผลิตสื่อในเบื้องต้นที่มีประสิทธิภาพได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เลิกใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีความน่าเชื่อถือจากหลายๆ ช่องทางมาสนับสนุนการจัดโครงการแม่โจ้-แพร่ ต้านภัยโควิด-19
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล