15214 : โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ประจำปี 2563
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
อาจารย์อุทัยวรรณ ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/12/2562 9:28:30
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2562  ถึง  31/05/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ 2563 25,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านบริหารจัดการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 1.การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 1.3 ความเข้มแข็งของหลักสูตร คณาจารย์ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวชี้วัด 63 MJU 1.3.2 ผลการประเมินคุณภาพเฉลี่ยระดับหลักสูตร
กลยุทธ์ 61-64MJU1.3.5 เพิ่มพูนควมรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการและวิชาชีพที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
เป้าประสงค์ 1.1 การจัดการศึกษาที่ส่งเสริมกการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด 1.1.1 ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาตนเอง
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปีการศึกษา 2562 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีนโยบายที่จะใช้เกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยระบบ ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA) ทั้งในระดับหลักสูตร คณะ สถาบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่จะต้องนำระบบการประเมินดังกล่าวมาใช้เป็นกลไกในการตรวจสอบและประเมินการทำงานของมหาวิทยาลัยในระดับหลักสูตร และระดับคณะด้วย ทั้งนี้ กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีแผนการที่พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และระดับคณะ เพื่อให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รับทราบและเข้าใจในข้อมูล Criteria ของเกณฑ์ AUN-QA และวิเคราะห์ GAP Analysis เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน SAR และการประเมินตามเกณฑ์ AUN-QA ในระดับหลักสูตร และเกณฑ์ CUPT QMS ในระดับคณะ กอร์ปกับ ในปัจจุบัน ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ – ชุมพร ยังขาดคณาจารย์ที่ผ่านการฝึกอบรมด้านสหกิจศึกษาต่างประเทศ และ คณาจารย์ด้านสหกิจศึกษาของหลักสูตรการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ ประจำปี 2563 โดยกำหนด กิจกรรม 2 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม 1 เรื่อง การวิเคราะห์ GAP Analysis ในเกณฑ์ AUN QA และเกณฑ์ CUPT QMS ให้กับบุคลากรทุกท่าน เพื่อจะได้เตรียมรับการตรวจประเมิน ประจำปีการศึกษา 2562 กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาบุคลากรด้านสหกิจศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์ GAP Analysis ในเกณฑ์ AUN QA และเกณฑ์ CUPT QMS สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทั้งระดับหลักสูตร และระดับคณะ
เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการด้านสหกิจศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บุคลากรมีความเข้าใจในเกณฑ์ AUN QA และเกณฑ์ CUPT-QMS และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพของหลักสูตรและคณะ ในระดับมาก
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ระดับ 4
ผลผลิต : บุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ผ่านการอบรมหลักสูตรสหกิจศึกษาเพิ่มขึ้น
KPI 1 : จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาด่านสหกิจศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 คน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บุคลากรมีความเข้าใจในเกณฑ์ AUN QA และเกณฑ์ CUPT-QMS และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมวิเคราะห์ GAP Analysis ในเกณฑ์ AUN QA และเกณฑ์ CUPT QMS และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2562 - 29/02/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เยาวลักษณ์  อภิวัฒนเสวี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร และผู้เข้าอบรม จำนวน 40 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
2.ค่าอาหารเย็นคณะวิทยากร จำนวน 10 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับวิทยากร และผู้เข้าอบรม จำนวน 40 คน ๆ ละ 4 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14000.00
ผลผลิต : บุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ผ่านการอบรมหลักสูตรสหกิจศึกษาเพิ่มขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาบุคลากรด้านสหกิจศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2563 - 31/05/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าลงทะเบียนอบรมเชิงปฏิบัติการ 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเดินทางปฏิบัติงานภายในประเทศ (เบิกเฉพาะ ค่าที่พัก และ ค่าพาหนะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมอาจกระทบกับภาระงานของบุคลากร ทำให้บุคลากรบางท่านไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้
2. งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรด้านสหกิจศึกษามีจำกัด แต่ค่าลงทะเบียนฝึกอบรมค่อนข้างสูง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบล่วงหน้า
ประชุมหารือในที่ประชุมคณะกรรมสหกิจศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร เพื่อจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรด้านสหกิจศึกษา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล