14430 : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ กิจกรรม "ครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ ซ่อมแซมฝายมีชีวิต"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสมพร แรกชำนาญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/8/2562 11:38:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/08/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  ผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน กองทุนพัฒนาแม่โจ้ (ครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้) 2562 52,490.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง สมพร  แรกชำนาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ  ดุษฎี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.5 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์ การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 5.1 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 5.ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้กำหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย (Road map) ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555-2569) ทั้งนี้ได้มีการวางเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาคือ การเป็น "มหาวิทยาล้ัยแห่งชีวิต" ซึ่งหมายความว่า เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้ความสำคัยกับการสร้างชีวิตที่ดีมากกว่างสร้างวัตถุ โดยชีวิตที่ดี หมาบถึง ชีวิตของชาวแม่โจ้ทั้งบุคลากร นักศึกษา บัณฑิต และชุมชน ต้องเป็นชีวิตที่ยึดการเกษตรเป็นรากฐานของการพัฒนา ชีวิตที่เคราพและให้ความสำคัญกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชีวิตที่ผูกพันกับประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริงที่ต้องก้าวทัน รู้ทันเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งชีวิตที่ยึดความดีงามและธรรมาภิบาลเป็นฐานราก เหล่านี้อยู่ภายใต้แนวคิดการพัฒนาสู่การเป็น "แม่โจ้ : มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (Maejo : University of Life)" ในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต ภายใต้เส้นทางยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้ง 3 ช่วง อันประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียง (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco : University) ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม จึงได้ตั้งศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ เพื่อเป็นฐานเรียนรู้วิถีเกษตร วิถีแม่โจ้ โดยรวบรวมวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้นักเรียน นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า และประชาชนทั่วไป รวมถึงหน่วยงานภายในและภายนอกเข้ามาศึกษาดูงาน โดยในฐานเรียนรู้จะมีเรื่องของพิพิธภัณฑ์การเกษตรและวัฒนธรรมไทย ครัวอิ่มอุ่น พี่เพื่อน้องแม่โจ้ ฝ่ายมีชีวิต ศาสตร์แห่งสายน้ำและชีวภาพ เชื่ีอมโยงด้านการเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อย่างต่อเนื่องทั้งนี้มีนักศึกษาที่เป็นมักคุเทศทำหน้าที่พาเยี่ยมชมและให้บริการข้อมูลของฐานเรียนรู้วัฒนธรรม วีถีเกษตร วิธีแม่โจ้ เป็นภาษาต่างประเทศ คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดเนียเชีย ภาษาเขมร เป็นต้น ซึ่งเป็นการพัฒนานักศึกษาให้มีสมรรถะในระดับสากลในการทำหน้าที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ นั้น นอกจากการบรรยายให้ความรู้แล้วจะต้องมีสื่่อสารสนเทศที่จะให้ความรู้แก่ผู้มาศึกษาดูงานและเยี่ยมชมอย่างทันสมัยอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco University)
เพื่อเป็นฐานเรียนรู้บูรณาการกับการเรียนการสอนเข้ากับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฝายชะลอน้ำได้รับการซ่อมแซม และสามารถใช้ประโยชน์
KPI 1 : ฝายชะลอน้ำได้รับการซ่อมแซม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ตัว 2
KPI 2 : จำนวนวิชาเรียนที่ใช้ประโยชน์ในพื้นที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 รายวิชา 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฝายชะลอน้ำได้รับการซ่อมแซม และสามารถใช้ประโยชน์
ชื่อกิจกรรม :
ซ่อมแซมฝายชะลอน้ำ จำนวน 2 ตัว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/08/2562 - 22/08/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสมพร  แรกชำนาญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน ๆ ละ 2 มื้อ จำนวน 2 วัน ภายในวงเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร ภายในวงเงิน 3,200 บาท
2. ค่าวัสดุก่อส้ราง ภายในวงเงิน 37,890 บาท
3. ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ภายในวงเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 44,090.00 บาท 44,090.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 52490.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล