14010 : โครงการสิงห์ไพลอาสาพัฒนาชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/2/2562 16:11:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/02/2562  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชารัฐศาาตร์ หมาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2562 5,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อุบลวรรณ  สุภาแสน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพทางด้านเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
เป้าประสงค์ 1.2 บัณฑิตมีความอดทน สู้งาน และสามารถทำงานเป็นทีมได้
ตัวชี้วัด 1.1.2 บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้รับงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ ส่งเสริมแนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่มีการบ่มเพาะจิตสำนึกอันดีในความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นปัญญาอาสา จิตอาสา แก้ไขปัญหาชุมชนและลงมือปฏิบัติจริง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สาธารณภัยไว้ว่า หมายถึง ภัยหรืออันตราย ที่ทำให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิต ทรัพย์สินและสิ่งอื่น ๆ อย่างรุนแรง โดยมีลักษณะดังนี้คือ เป็นภัยที่เกิดขึ้นกับคนหมู่มาก อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลาหรือทุกสถานที่อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆ เกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายของประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ และเกิดความต้องการในสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วนสำหรับผู้ประสบภัย สาธารณภัย มีสาเหตุทั้งจากสาธารณภัยจากธรรมชาติ และจากมนุษย์ จังหวัดแพร่ ในหลายเขตพื้นที่พบว่ามีโอกาสเกิดสาธารณภัยหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นไฟป่า ภัยแล้ง น้ำท่วม และภัยหนาว โดยแต่ละสาธารณภัยล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นอย่างมาก ไฟป่าเป็นปัญหาสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อทรัพยากรป่าไม้ และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความเป็นอยู่ของประชาชน ปกติ ช่วงที่มีไฟป่ารุนแรงมักอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม การเกิดไฟป่าส่วนใหญ่มักเกิดจากมนุษย์ หากไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีวัสดุเชื้อเพลิงสะสมอยู่มาก (เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ เศษวัชพืชแห้ง ฯลฯ) พื้นที่เหล่านั้นก็อาจมีไฟป่าที่รุนแรง หรือดับไฟได้ยาก หน่วยงานต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดไฟป่า จึงสมควรที่จะมีการเตรียมความพร้อมด้านการจัดการเชื้อเพลิง โดยดำเนินการทำแนวกันไฟ พร้อมทั้งกำจัดหรือลดปริมาณเชื้อเพลิงในพื้นที่นั้น ๆ ซึ่งจะเป็นการลดโอกาสที่จะเกิดไฟป่า หรือถ้าเกิดไฟป่าขึ้น ไฟนั้นจะมีความรุนแรงน้อยลง สามารถควบคุม และดับไฟได้โดยง่าย จังหวัดแพร่ เป็นหนึ่งในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบจากไฟป่าที่เกิดขึ้นทั้งจากธรรมชาติและฝีมือของมนุษย์ เพราะที่อยู่อาศัย และพื้นที่ทำการเกษตร มีทำเล ที่ตั้ง ติดที่ราบสูง เมื่อเกิดไฟป่าถ้าไม่มีแนวกันไฟจะทำให้ไฟลุกลามเผาไหม้ป่าและบ้านเรือนของประชาชนในพื้นที่นั้นเป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้เขตพื้นที่ อำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ได้รับผลกระทบโดยตรงจากไฟป่า โดยเฉพาะหมู่บ้านบุญแจ่ม ตำบล น้ำเลา อำเภอ ร้องกวาง แพร่เป็นหมู่บ้านได้รับผลกระทบจากไฟป่าเป็นประจำทุกปี อีกทั้งชาวบ้านในชุมชนได้มีการทำแนวป้อนกันไฟป่าอย่างต่อเนื่องในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ถึงเดือน มีนาคม นี้เพื่อ ป้องกันไม่ให้ไฟลุกลามสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินของชุมชนและคนในชุมชน ในส่วนของปัญหาภัยแล้งนั้น พบว่าจังหวัดแพร่แม้จะมีลำน้ำยมไหลผ่าน แต่เนื่องจากปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า ทำให้ในหลายพื้นที่ประสบกับปัญหาภัยแล้ง ในช่วงฤดูหนาวเข้าสู่ฤดูร้อน ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการขาดแคลนน้ำในการอุปโภคบริโภครวมไปถึงการทำเกษตรกรรม ป่าไม้มีความเสื่อมโทรมเนื่องจากขาดน้ำ และแหล่งตั้นน้ำที่อุดมสมบูรณ์ นอกจากนี้ จังหวัดแพร่ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย มีลักษณะภูมิศาสตร์ที่เป็นภูเขาและป่าไม้จำนวนมาก จึงทำให้ให้มีสภาพอากาศร้อนชื้นและหนาวจัดเมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ส่งผลให้ประชาชนที่อาศัยในเขตพื้นที่ทางภาคเหนือบริเวณเขตภูเขาสูง มักได้รับผลกระทบในด้านต่างๆจากสภาพอากาศที่หนาวจัด อาทิเช่น ด้านสุขอนามัยที่มาจากอากาศหนาวจัด ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจ ผิวหนังแห้ง หรือในบางรายอาจร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต จึงได้รับผลกระทบจากภัยหนาว โดยเฉพาะในเขตพื้นที่อำเภอร้องกวางที่มีสภาพภูมิศาสตร์ค่อนข้างเป็นเขตภูเขาสลับซับซ้อนและมีหมู่บ้านเป็นจำนวนมาก โดยแต่ละหมู่บ้านบางแห่งในเขตอำเภอร้องกวาง ตั้งอยู่บนภูเขาที่สูงและห่างไกลความเจริญ รวมถึงมีสภาพดินเป็นดินลูกรังปนทราย ส่งผลให้หน่วยงานบางหน่วยงานไม่สามารถให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุมในพื้นที่ดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้เขตพื้นที่อำเภอร้องกวางได้รับผลกระทบโดยตรงจากภัยหนาว โดยเฉพาะ หมู่บ้านห้วยฮ่อม ตำบลบ้านเวียง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ที่เป็นเขตพื้นที่อาศัยของชนเผ่ามลาบรี ซึ่งเป็นหมู่บ้านได้รับผลกระทบจากภัยหนาวโดยตรง อีกทั้งประชาชนยังขาดแคลนเครื่องนุ่งห่มที่สามารถป้องกันภัยหนาวได้ จากปัญหาดังกล่าว สาขาวิชารัฐศาสตร์ ในฐานะที่ได้ผลิตบัณฑิตออกสู่สังคมเพื่อช่วยพัฒนาชุมชนพร้อมไปกับการบริหารงานภาครัฐและเอกชน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาสาธารณภัยต่างๆ ภายในจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการ สิงห์ไพลอาสาพัฒนาชุมชนขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกห้องเรียนและได้ทำงานร่วมกับชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อร่วมกับชุมชนในการจัดทำฝายชะลอน้ำ
2. เพื่อช่วยเหลือและให้ความรู้กับเยาวชนเกี่ยวกับภัยหนาวและแนวทางป้องกัน
3. เพื่อร่วมกับชุมชนในการจัดทำแนวกันไฟ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการ สิงห์ไพลอาสาพัฒนาชุมชน
KPI 1 : จำนวนฝายชะลอน้ำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แห่ง 1
KPI 2 : จำนวนแนวกันไฟ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เส้นทาง 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 150
KPI 4 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับภัยหนาว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการ สิงห์ไพลอาสาพัฒนาชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 สร้างฝายชะลอน้ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/02/2562 - 12/02/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธนวัฒน์  ปินตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าครุภัณฑ์
ไม่ขอเบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 บริจาคเสื้อผ้าและให้ความรู้แก่เยาวชนชาวมลาบีเกี่ยวกับภัยหยาวและแนวป้องกันไฟป่า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/02/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธนวัฒน์  ปินตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 1,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 สร้างแนวกันไฟ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/02/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธนวัฒน์  ปินตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ไม่ขอเบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล